Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/48087
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | เพียรพรรค ทัศคร | |
dc.contributor.author | วัฒนา นพคุณ | |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | |
dc.date.accessioned | 2016-06-07T07:48:24Z | |
dc.date.available | 2016-06-07T07:48:24Z | |
dc.date.issued | 2530 | |
dc.identifier.isbn | 9745676047 | |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/48087 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2530 | en_US |
dc.description.abstract | วัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้ เป็นการศึกษาถึงวิธีการย่อยสลายฝุ่นข้าวในสภาวะไร้ออกซิเจนในถังหมักแบบถังกวน (stirred tank) และแบบปลั๊กโฟล (plug flow) เพื่อหาสภาวะที่เหมาะสมต่อการหมัก ในการที่จะให้ก๊าซชีวภาพสูงสุด และระยะเวลากำจัดต่ำสุดจากนั้นจึงศึกษาทางด้านจลน์ศาสตร์ และเศรษฐศาสตร์ ในการทดลองได้ทำการเพิ่มภาระสารอินทรีย์ (total solid) พร้อมลดระยะเวลากำจัด (retention time) และลดระยะเวลากำจัดโดยที่ภาวะสารอินทรีย์คงที่ จากการทดลองพบว่า ถังหมักแบบถังกวนสามารถรับภาระสารอินทรีย์ได้สูงสุดเพียงร้อยละ 10 และลดระยะเวลากำจัดได้ต่ำสุด 10 วัน อัตราการผลิตก๊าซประมาณ 1 ลบ.ม./วัน สำหรับถังหมักแบบปลั๊กโฟลสามารถเพิ่มภาระสารอินทรีย์ได้ถึงร้อยละ 30 ระยะเวลากำจัด 25.7 วัน อัตราการผลิตก๊าซ 20 ลบ.ม./วัน การศึกษาทางจลน์ศาสตร์ พบว่า ปริมาณของของแข็งทั้งหมดในสารอาหารที่ออกถังหมัก ถูกควบคุมโดยระยะเวลากำจัด แสดงได้ในรูปสมการ S = Ks*(1+b*Ɵ) / (Ɵ*(ko*a-b)-1) โดยที่ S = ปริมาณของแข็งทั้งหมดในสารอาหารที่ออกจากถังหมัก Ɵ = ระยะเวลากำจัด และ Ks, ko, a และ b เป็นค่า kinetic coefficient พบว่า สำหรับถังหมักแบบปลั๊กโฟล ค่า Ks เท่ากับ 578, ค่า b เท่ากับ 0.0532 และค่า ko*a เท่ากับ 0.635 ซึ่งค่าคงที่เหล่านี้สามารถนำไปใช้ในการควบคุมการออกแบบระบบหมักแบบปลั๊กโฟลเพื่อผลิตก๊าซชีวภาพ สำหรับการวิเคราะห์ด้านเศรษฐศาสตร์เบื้องต้นพบว่า ถังหมักแบบปลั๊กโฟลในขนาดเดียวกับถังหมักแบบฝาลอย และแบบโดม จะเสียค่าใช้จ่ายในการก่อสร้างสูงกว่าประมาณ 30 เท่า แต่ให้อัตราการผลิตก๊าซสูงกว่าประมาณ 20 เท่า และเมื่อคิดค่าใช้จ่ายในการผลิตก๊าซชีวภาพต่อเดือน ระบบแบบปลั๊กโฟลจะเสียค่าใช้จ่ายถูกกว่า ดังนั้นระบบหมักแบบปลั๊กโฟลจึงเหมาะสมที่จะจัดสร้างในชุมชน | en_US |
dc.description.abstractalternative | The objective of this study is to conduct and investigate the anaerobic digestion, using rice dust as a substrate, both in plug flow and stirred tank reactors. The determination of the optimum operating condition, maximizing the gas and minimizing the retention time, and economic study for the system had also been conducted. In the experiments, total solid was increased together with the reduction of retention time. It was found that the maximum concentration of total solid fed to the reactor, minimum retention time for the reaction and the gas production per digester volume were 10%, 10 days and 1 cubic meter per day for stirred tank reactor; for plug flow reactor there were 30%, 25.7 days and 20 cubic meters per day respectively. It has been found from kinetic study that the total solid in effluent was controlled by hydraulic retention time, and could be described by the following expression : S = Ks*(1+bƟ) / {Ɵ(ko*a-b)} Where S is the concentration of total solid in effluent, Ɵ is the retention time, Ks, ko, a and b are the kinetic coefficinets. The kinetic parameters of the plug flow reactor were found to be 578 for Ks, 0.0532 for b and 0.635 for ko*a. These values can be used as designed parameters for biogas production in plug flow reactors. From preliminary economic study for the two reactors with the same size, the investment cost of plug flow reactor is about thirty times that of stirred tank reactor. However, the gas production rate is about twenty times higher, so it proves to be beneficial to use a plug flow reactor for community biogas production. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | ก๊าซชีวภาพ -- ไทย | en_US |
dc.subject | การหมัก | en_US |
dc.subject | การใช้ของเสียให้เป็นประโยชน์ | en_US |
dc.subject | การเพาะเลี้ยง (ชีววิทยา) | en_US |
dc.subject | ฝุ่นข้าว | en_US |
dc.title | การผลิตก๊าซชีวภาพจากฝุ่นข้าวในถังหมักแบบปลั๊กโฟล | en_US |
dc.title.alternative | Production of biogas from rice dust in plug flow reactor | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | เทคโนโลยีชีวภาพ | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Watana_no_front.pdf | 2.19 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Watana_no_ch1.pdf | 1.34 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Watana_no_ch2.pdf | 2.21 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Watana_no_ch3.pdf | 1.64 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Watana_no_ch4.pdf | 518.94 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Watana_no_ch5.pdf | 4.52 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Watana_no_ch6.pdf | 1.37 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Watana_no_ch7.pdf | 401.94 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Watana_no_back.pdf | 8.54 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.