Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/48099
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorบุษบง ตันติวงศ์-
dc.contributor.advisorศรินธร วิทยะสิรินันท์-
dc.contributor.authorวรวรรณ เหมชะญาติ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2016-06-07T08:27:35Z-
dc.date.available2016-06-07T08:27:35Z-
dc.date.issued2536-
dc.identifier.isbn9745823961-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/48099-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2536en_US
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามแนวคิดของกาเย่ ที่มีต่อความสามารถในการรับรู้ทางด้านมิติสัมพันธ์ของเด็กก่อนวัยเรียน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย เป็นเด็กก่อนวัยเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 2 ปีการศึกษา 2535 ของโรงเรียนอนุบาลพิบูลเวศม์ จำนวน 30 คน แบ่งออกเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม โดยวิธีการจับคู่คะแนน เด็กก่อนวัยเรียน กลุ่มทดลอง ได้รับการจัดกิจกรรมตามแผนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามแนวคิดของกาเย่ที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้น ส่วนกลุ่มควบคุมได้รับการจัดกิจกรรมตามแผนการจัดกิจกรรมของสำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ ทั้งสอ[ง]กลุ่มได้รับการสอนเป็นเวลา 6 สัปดาห์ รวม 30 แผน เมื่อสิ้นสุดการทดลอง ผู้วิจัยทดสอบความสามารถในการรับรู้ทางด้านมิติสัมพันธ์ของทั้งสองกลุ่ม ทำการวิเคราะห์ข้อมูลโดยการทดสอบค่าที ภายหลังการทดลอง (t-test) ผลการวิจัยพบว่า เด็กก่อนวัยเรียนกลุ่มทดลองที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามแนวคิดของกาเย่มีความสามารถในการรับรู้ทางด้านมิติสัมพันธ์สูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .0005en_US
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this study was to investigate the effects of instructional activity organization according to Gagne’s Approach on spatial relation perception ability of Kindergarten children. The study employed a pretest – posttest control group design with matching. Kindergarteners at Piboonvet School were randomly assigned to an Experimental [group] or a control group, each consisting of 15 subjects. Two six – week intervention treatments were administered. The experimental t[r]eatment was the instructional activity organization according to Gagne’s approach wher[e]as the control treatment was the instructional activity organization according to the ONPEC’s approach. The data were gathered and analyzed [using] t-test. The findings indicated that there were significant statistical differences (p < .0005) between the children in the experimental and control group.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.titleผลของการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามแนวคิดของกาเย่ ที่มีต่อความสามารถในการรับรู้ทางด้านมิติสัมพันธ์ของเด็กก่อนวัยเรียนen_US
dc.title.alternativeEffects of instructional activety organization according to gagne's approach on spatial relation perception ability of kindergarten childrenen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineประถมศึกษาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorBoosbong.T@chula.ac.th-
dc.email.advisorSarinthorn.v@chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Worawan_he_front.pdf1.52 MBAdobe PDFView/Open
Worawan_he_ch1.pdf1.63 MBAdobe PDFView/Open
Worawan_he_ch2.pdf7.18 MBAdobe PDFView/Open
Worawan_he_ch3.pdf1.64 MBAdobe PDFView/Open
Worawan_he_ch4.pdf502.99 kBAdobe PDFView/Open
Worawan_he_ch5.pdf2.12 MBAdobe PDFView/Open
Worawan_he_back.pdf12.69 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.