Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/48131
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชวนชัย อัชนันท์-
dc.contributor.advisorกิตติ ลิ่มสกุล-
dc.contributor.authorรุ้งลาวัลย์ น้อยประสิทธิ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2016-06-08T00:55:00Z-
dc.date.available2016-06-08T00:55:00Z-
dc.date.issued2530-
dc.identifier.isbn9745679658-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/48131-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2530en_US
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ ได้มุ่งศึกษาถึงระดับการกระจุกตัวของอุตสาหกรรมในประเทศไทยพร้อมทั้งวิเคราะห์ว่ามีความสัมพันธ์ระหว่างโครงสร้างของอุตสาหกรรมและอัตรากำไรหรือไม่ ในการศึกษาถึงระดับการกระจุกตัวของอุตสาหกรรมของประเทศไทย ได้เลือกอุตสาหกรรมตัวอย่างจำนวน 115 อุตสาหกรรม จากจำนวนอุตสาหกรรมทั้งหมด 148 อุตสาหกรรม โดยใช้ข้อมูลจากการทำสำมะโนอุตสาหกรรมปี 2526 ผลการศึกษาพบว่าอุตสาหกรรมที่มีระดับการกระจุกตัวสูง มีประมาณร้อยละ 80, 92 และ 87 ของจำนวนอุตสาหกรรมตัวอย่างทั้งหมด โดยวัดจากจำนวนการจ้างงาน มูลค่าการขาย และมูลค่าสินทรัพย์ถาวร ตามลำดับ ส่วนอุตสาหกรรมที่มีระดับการกระจุกตัวปานกลางมีประมาณร้อยละ 15, 8 และ 10 ขณะที่อุตสาหกรรมที่มีระดับการกระจุกตัวต่ำ มีประมาณร้อยละ 5, 0 และ 2 ของอุตสาหกรรมตัวอย่างทั้งหมด ตามลำดับ ในขณะเดียวกัน โดยวิธีทดสอบความสัมพันธ์แบบ Chi-square ปรากฏว่าโครงสร้างของอุตสาหกรรมและอัตรากำไรมีความสัมพันธ์กันจริงนอกจากนั้น การศึกษานี้ยังได้เลือกอุตสาหกรรมสัตว์ผสม อุตสาหกรรมรถยนต์และอุตสาหกรรมกระดาษพิมพ์-เขียน มาเป็นกรณีศึกษา เพื่อวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงระดับการกระจุกตัวของอุตสาหกรรม ผลการศึกษาพบว่า แม้ว่าอุตสาหกรรมทั้ง 3 ประเภทจะมีระดับการกระจุกตัวของอุตสาหกรรมค่อนข้างสูง แต่แนวโน้มของระดับการกระจุกตัวนั้นแตกต่างกันไป กล่าวคือ ในช่วงปี 2515-2527 อุตสาหกรรมสัตว์ผสม มีระดับการกระจุกตัวเพิ่มขึ้น ขณะที่ในช่วงปี 2511-2527 อุตสาหกรรมรถยนต์ และอุตสาหกรรมกระดาษพิมพ์-เขียนมีระดับการกระจุกตัวลดลงen_US
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this thesis were to study the degree of industrial concentration of Thai Manufacturing industries and simultaneously to analyze the prevailing relationship between market structure and price – cost margins. The statistical data 115 industries were draw from the industrial census of 183 conducted by The National Statistical Office. It was found out that the industries with high concentration ratio calculated on the basic of employment, fixed assets, and sales volume were 80 percent, 87 percent, and 92 percent of those 115 industries, respectively. The corresponding figures for the industries with moderate degree of concentration were 15 percent, 10 percent, and 8 percent of the sample industries, while those with low degree of concentration were only 5 percent, trivial, and 2 percent, respectively. Furthermore, by using the Chi-square test method, it was confirmed that the relationship between market structure and price-cost margins was in existence among the sample industries. With regard to the change in the degree of industrial concentration over time, three specific industries, i.e., animal feed, automobile assembly, and printing – writing paper were selected as case studies. It was shown that despite their relatively high concentration ratios, the level of industrial concentration has changed over time. During 1972-1984, the degree of concentration, in terms of production volume, in the animal feed industry increased. On the contrary, the degree of concentration in the automobile assembly and printing-writing paper industry was on the decrease for the period of 1972-1984 and of 1969-198, respectively.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการกระจุกตัวของอุตสาหกรรม -- ไทยen_US
dc.subjectการค้าผูกขาดen_US
dc.subjectกำไร -- ไทยen_US
dc.subjectอุตสาหกรรมอาหารสัตว์ -- ไทยen_US
dc.subjectอุตสาหกรรมรถยนต์ -- ไทยen_US
dc.subjectอุตสาหกรรมกระดาษ -- ไทยen_US
dc.subjectอุตสาหกรรม -- ไทยen_US
dc.titleการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างการกระจุกตัวและอัตรากำไร ของอุตสาหกรรมในประเทศไทยen_US
dc.title.alternativeAnalysis of concentration and price-cost marging relationships in Thai manufacturing industriesen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineเศรษฐศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.email.advisorKitti.L@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Roonglawan_no_front.pdf2.51 MBAdobe PDFView/Open
Roonglawan_no_ch1.pdf3.02 MBAdobe PDFView/Open
Roonglawan_no_ch2.pdf29.58 MBAdobe PDFView/Open
Roonglawan_no_ch3.pdf3.4 MBAdobe PDFView/Open
Roonglawan_no_ch4.pdf25.89 MBAdobe PDFView/Open
Roonglawan_no_ch5.pdf13.13 MBAdobe PDFView/Open
Roonglawan_no_ch6.pdf1.05 MBAdobe PDFView/Open
Roonglawan_no_back.pdf10.38 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.