Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/48160
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธนวดี บุญลือ-
dc.contributor.authorวัฑฒนา จันทร์จรัสวัฒนา-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2016-06-08T02:16:46Z-
dc.date.available2016-06-08T02:16:46Z-
dc.date.issued2533-
dc.identifier.isbn9745773956-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/48160-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2533en_US
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีจุดประสงค์ คือ 1. เพื่อทราบประสิทธิผลของสื่อวิดีทัศน์ในการให้ความรู้และสร้างความคิดเห็นของผู้เข้าร่วมโครงการใน ต.ท่าลาดขาว อ.โชคชัย และต.นากลาง อ.สูงเนิน จ.นครราชสีมา 2. เพื่อเปรียบเทียบความแตกต่างของความรู้และความคิดเห็นที่มีต่อโครงการอีสานเขียวระหว่างก่อนและหลังการชมวิดีทัศน์ 3. เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความรู้ความเข้าใจเรื่องโครงการอีสานสีเขียวกับปัจจัยทางประชากร ได้แก่ อายุ ระดับการศึกษา และระดับเศรษฐกิจ 4. เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความรู้ความเข้าใจ เรื่องโครงการอีสานสีเขียวกับเจตนารมย์ของผู้เข้าร่วมโครงการที่มีต่อการช่วยสนัมสนุนโครงการฯ โดยดำเนินการศึกษาประสิทธิผลของสื่อวิดีทัศน์ในการประชาสัมพันธ์เผยแพร่โครงการอีสานสีเขียว ทั้งนี้ศึกษาจากผู้เข้าร่วมโครงการ 81 คน ใน ต.ท่าลาดขาว อ.โชคชัย และต.นากลาง อ.สูงเนิน จ.นครราชสีมา โดยใช้รูปแบบการวิจัยแบบQuasi-Experimentation ด้วยวิธี One-group Pretest Posttest Design และทำการวิเคราะห์ข้อมูลโดยการแจกแจงความถี่หาค่าร้อยละ การทดสอบT-test การหาค่าสหสัมพันธ์แบบPearson และOne-Way Anova ผลการวิจัยปรากฏดังนี้ ผู้ที่เข้าชมวิดีทัศน์มีการเปลี่ยนแปลงระดับความรู้เรื่องโครงการอีสานเขียวแต่ความคิดเห็นไม่เปลี่ยนแปลงหลังชมวิดีทัศน์ อายุ ระดับการศึกษา และระดับเศรษฐกิจ ไม่มีความสัมพันธ์กับการเปลี่ยนแปลงความรู้และความคิดเห็นเรื่องโครงการอีสานเขียวของผู้เข้าร่วมโครงการอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ นอกจากนี้ยังพบว่า ความรู้ ความเข้าใจในโครงการอีสานเขียวไม่มีความสัมพันธ์กับเจตนารมย์ของผู้เข้าร่วมโครงการที่มีต่อการช่วยสนับสนุนโครงการอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ผู้เข้าร่วมโครงการส่วนใหญ่ทราบเรื่องอีสานเขียวจากโทรทัศน์ โดยเข้าใจเรื่องอีสานเขียวว่าเป็นโครงการช่วยเหลือและแก้ปัญหาหมู่บ้านหรือชาวอีสานให้มีความเป็นอยู่ดีกว่าเดิม ให้กินดีอยู่ดี มีเศรษฐกิจดี ให้บ้านเมืองเจริญและอุดมสมบูรณ์เพื่อช่วยพัฒนาให้หายแห้งแล้ง และจะทำให้อุดมสมบูรณ์เหมือนแต่ก่อนคิดว่า กิจกรรมพัฒนาภาคอีสาน เป็นกิจกรรม ฟื้นฟูปลูกป่าและการเกษตร ลดการตัดไม้มากที่สุด และชอบโครงการอีสานเขียวเพราะสร้างอีสานให้เขียวอุดมสมบูรณ์และเจริญเหมือนเดิม โดยที่ผู้เข้าร่วมโครงการมีเจตนารมย์ที่จะสนับสนุนโครงการด้วยการรักษาป่าและปลูกป่าให้มากที่สุด และคิดที่จะเข้าร่วมโครงการทุกอย่างเท่าที่จะทำได้ เพื่อปรับปรุงหมู่บ้านให้ดีขึ้น แต่มีข้อเสนอแนะในการปรับปรุงวีดิทัศน์ชุดนี้ในหลายๆ ด้าน ทั้งด้านเนื้อเรื่อง คุณภาพ รายละเอียด รวมทั้งเสนอให้ใช้สื่อประเภทอื่นร่วมในการเสนอข้อมูลเรื่องโครงการอีสานเขียวด้วยen_US
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study are as follows : 1. To learn the effectiveness of video tape in giving knowledge to creating the positive opinion among participants in Taladkaow District, Amphur Chokechai and Naklang District, Amphur Soongnuen, Nakornrajasrima province. 2. To compare the participants’ knowledge and opinion in Green E-Sarn Project before and after watching the video tape. 3. To study the correlation between the participants’ knowledge and opinion towards Green E-Sarn Project and such demographic data as age, education and income. 4. To study the correlation between the participants’ knowledge in Green E-Sarn Project and their intention to support the project. Based on Quasi Experimentation with one-group Pretest Posttest Design, the data are collected from 81 viewers. Percentage, T-test, Pearson Correlation and One way Anova are used for statistical analysis. It was found that after watching video tape, the participants’ knowledge changed significantly. However, they did not change their opinion about the project. Age, education and income were not significantly related to participants’ knowledge and opinion change in Green E-Sarn Project. Moreover, participants’ knowledge was not significantly related to their intention to support the project. Besides, it appeared that television was the most popular media they learnt about the project. They viewed this project as having the aim to solve the E-Sarn region poverty problems which have long been plagued by drought, thereby upgrading their living. The research also revealed that the participants understood that the project aimed to promote afforestation in the Northeast. This knowledge created positive opinion towards the project and they intended to give it activities. Moreover, the participants also contributed their suggestions on improving the quality of the video tape.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectวีดิทัศน์en_US
dc.subjectโครงการอีสานเขียวen_US
dc.subjectการประชาสัมพันธ์en_US
dc.subjectโฆษณาทางโทรทัศน์en_US
dc.titleประสิทธิผลของสื่อวิดีทัศน์ที่ใช้ในการประชาสัมพันธ์ เผยแพร่โครงการอีสานเขียวen_US
dc.title.alternativeThe effectiveness of video tape for green E-Sarn project publicityen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการประชาสัมพันธ์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorTanawadee.B@chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Wattana_cha_front.pdf1.32 MBAdobe PDFView/Open
Wattana_cha_ch1.pdf948.58 kBAdobe PDFView/Open
Wattana_cha_ch2.pdf3.73 MBAdobe PDFView/Open
Wattana_cha_ch3.pdf761.58 kBAdobe PDFView/Open
Wattana_cha_ch4.pdf3 MBAdobe PDFView/Open
Wattana_cha_ch5.pdf2.78 MBAdobe PDFView/Open
Wattana_cha_back.pdf4.57 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.