Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/48173
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมชาย จิตะพันธ์กุล-
dc.contributor.advisorเพียร โตท่าโรง-
dc.contributor.authorสุรเดช เคารพครู-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2016-06-08T02:38:10Z-
dc.date.available2016-06-08T02:38:10Z-
dc.date.issued2539-
dc.identifier.isbn9746332368-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/48173-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539en_US
dc.description.abstractที่ตั้งของแหล่งกำเนิดสัญญาณ สามารถหาได้จากการวัดมุมทิศตั้งแต่ 2 ทิศขึ้นไปโดยใช้เครื่องดักรับหาทิศ ที่ทราบตำแหน่งแล้วนำมาคำนวณโดยวิธีการเล็งสกัด (triangulation) เพื่อหาจุดตัด เนื่องจากมุมทิศที่ได้รับการวัดนั้น จะมีสัญญาณรบกวน (noise) เข้ามาปะปน จึงมีผลให้จุดตัดที่เกิดจากเส้นตรงที่เส้นที่ลากจากเครื่องดักรับหาทิศ ไปตามทิศที่วัดได้ ซึ่งเรียกว่าเส้นมุมทิศ (line of bearing) ไม่ตัดกันเป็นจุดเดียว ถ้ามีเส้นมุมทิศตัดกันสามเส้น จะเกิดเป็นรูปสามเหลี่ยมของความคลาดเคลื่อน (error triangle) ซึ่งจำเป็นจะต้องใช้วิธีการประมาณค่าเพื่อคำนวณหาตำแหน่งที่ตั้งของแหล่งกำเนิดสัญญาณที่แม่นยำที่สุดในพื้นที่สามเหลี่ยมของการคลาดเคลื่อนนี้ ในวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ ได้นำเสนอวิธีการใช้คาลแมนฟิลเตอร์แบบยืดขยาย มาคำนวณหาค่าประมาณของที่ตั้งแหล่งกำเนิดสัญญาณในกรณีของ multiple stationary observer โดยใช้การจำลองบนคอมพิวเตอร์ เพื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพ ความแม่นยำของวิธีการที่นำเสนอ กับวิธีการที่นิยมใช้อยู่ในปัจจุบัน ผลของการวิจัยพบว่า การประมาณหาที่ตั้งแหล่งกำเนิดสัญญาณจากการวัดมุมทิศ โดยใช้วิธีคาลแมนฟิลเตอร์แบบยืดขยาย ให้ผลความแม่นยำมากกว่าวิธีอื่นๆen_US
dc.description.abstractalternativeThe location of an emitter source can be determined from bearing angle measurements of the known location of passive observers. The emitter position can be obtained from the measured bearing angles by using the triangulation method. Since the measured bearing angles are noisy, the lines of bearing will not intersect at the same point. If there are three lines of bearing, the error triangle is formed. That is the location estimation method is required to achieve the optimal emitter position within the vicinity of the error area. In this thesis, the Extended Kalman Filter is proposed to estimate the emitter position in the case of multiple stationary observers. Numerical simulations are performed to compare the accuracy of the proposed method with various conventional methods. The simulations indicate that the performance of Extended Kalman Filter gives the most accurate results.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.titleการประมาณหาที่ตั้งแหล่งกำเนิดสัญญาณจากการวัดมุมทิศ โดยใช้วิธีคาลแมนฟิลเตอร์แบบยืดขยายen_US
dc.title.alternativeEmitter location estimation from bearing angle measurements by the extended kalman filter methoden_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมไฟฟ้าen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorSomchai.J@chula.ac.th-
dc.email.advisorptotarong@yahoo.com-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Suradech_ka_front.pdf1.69 MBAdobe PDFView/Open
Suradech_ka_ch1.pdf676.12 kBAdobe PDFView/Open
Suradech_ka_ch2.pdf2.71 MBAdobe PDFView/Open
Suradech_ka_ch3.pdf9.14 MBAdobe PDFView/Open
Suradech_ka_ch4.pdf676.72 kBAdobe PDFView/Open
Suradech_ka_back.pdf1.92 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.