Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/48192
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธีระพันธ์ เหลืองทองคำ-
dc.contributor.authorรุจนา พินิจารมณ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2016-06-08T03:09:23Z-
dc.date.available2016-06-08T03:09:23Z-
dc.date.issued2534-
dc.identifier.isbn9745782777-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/48192-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2534en_US
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์นี้ มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาค่าความถี่มูลฐานของวรรณยุกต์ และค่าระยะเวลาของเสียงก้องในพยางค์เสียงเบาที่มีโครงสร้างพยางค์ 6 แบบในภาษาไทยคือ CV2 CVS CV:S CV: CVN และ CV:N โดยใช้เครื่องวิเคราะห์คลื่นเสียง และวิธีทางสถิติ จากการวิเคราะห์ พบว่า วรรณยุกต์ทั้ง 5 หน่วยเสียงยังคงมีค่าความถี่มูลฐานที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ และหน่วยเสียงวรรณยุกต์เดียวกันอาจมีค่าความถี่มูลฐานต่างกันด้วย เมื่อปรากฏในโครงสร้างพยางค์ต่างกัน และ/หรือในโครงสร้างพยางค์เดียวกัน ส่วนวรรณยุกต์ที่ออกเสียงโดยผู้บอกภาษาทั้ง 4 คนมีลักษณะที่ร่วมกันและแตกต่างกัน นอกจากนี้ วรรณยุกต์ในพยางค์เสียงเบายังแตกต่างจากในพยางค์เสียงหนักเป็น 3 ลักษณะ เรียงตามลำดับที่พบมากที่สุดถึงน้อยที่สุด คือ 1) ลักษณะที่ยังคงรักษาระดับเสียง และทิศทางของเสียงไว้ใกล้เคียงกับวรรณยุกต์ในพยางค์เสียงหนัก แต่ลดปริมาณการเปลี่ยนแปลงระดับเสียงระหว่างจุดเวลาต่างๆ ลง 2) ลักษณะที่มีการเลื่อนระดับเสียง และทิศทางการขึ้นตกของเสียงมารวมกันอยู่ในระดับกลางๆ และคงระดับมากขึ้น และ 3) ลักษณะที่มีการเปลี่ยนแปลงระดับเสียง และทิศทางการขึ้นตกของเสียงไปจนคล้ายกับหน่วยเสียงวรรณยุกต์อื่น เสียงก้องในพยางค์เสียงเบา มีค่าระยะเวลาน้อยกว่าเสียงก้องในพยางค์เสียงหนักอย่างเห็นได้ชัด และมีค่าระยะเวลาของเสียงก้องที่ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญเป็นส่วนใหญ่ระหว่างโครงสร้างพยางค์แต่ละแบบ และระหว่างผู้บอกภาษาแต่ละคนen_US
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this thesis is to study the Fø of tones and the duration of voiced segments in unstressed syllables in Thai. Six types of syllable structures were examined : CV2 CVS CV:S CV: CVN and CV:N. The analysis is based on spectrographic measurements and the statistical methods used. The results of the analysis are as follows: The five Thai tones still maintain their original tone shapes or significant Fø differences. And a tone may have different tone shapes, sometimes conditioned by the syllable structures and sometimes unconditionally. The Fø curves for tones in unstressed syllables as uttered by 4 subjects are similar in some cases but vary in others. Tones in unstressed syllables differ from those in stressed syllables in three ways : 1) the pitch height and contour of the original tones are more or less the same ; minor differences exist in degree of rising or falling at different time points ; 2) the neutralization of the five tones towards mid-level tone; and 3) the merger of the tone characteristics which are the prominent markers of certain tones ; 1) above is the most prominent and 3), the least. It is obvious that voiced segments in unstressed syllables have much shorter duration than those in stressed syllables and mostly have insignificantly different duration among different types of syllable structures and also among duration uttered by different subjects.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.titleลักษณะเชิงกลสัทศาสตร์ของพยางค์เสียงเบาในภาษาไทยen_US
dc.title.alternativeAcoustic characteristics of unstressed syllables in Thaien_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameอักษรศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineภาษาศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorTheraphan.L@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Ruchana_ph_front.pdf1.22 MBAdobe PDFView/Open
Ruchana_ph_ch1.pdf1.67 MBAdobe PDFView/Open
Ruchana_ph_ch2.pdf2.7 MBAdobe PDFView/Open
Ruchana_ph_ch3.pdf9.21 MBAdobe PDFView/Open
Ruchana_ph_ch4.pdf2.4 MBAdobe PDFView/Open
Ruchana_ph_ch5.pdf705.81 kBAdobe PDFView/Open
Ruchana_ph_back.pdf2.68 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.