Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/48242
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorประพัฒน์ ลักษณพิสุทธิ์-
dc.contributor.authorวรยุทธ ไกรเลิศมงคล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2016-06-08T04:20:56Z-
dc.date.available2016-06-08T04:20:56Z-
dc.date.issued2535-
dc.identifier.isbn9745814369-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/48242-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2535en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและหาความสัมพันธ์ระหว่างทรวดทรง กับสมรรถภาพทางกายของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ของกลุ่มโรงเรียนที่ 8 สังกัดกรมสามัญศึกษา กรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นนักเรียนชายและนักเรียนหญิง จำนวน 380 คน ปีการศึกษา 2534 ที่ได้จากการสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบหลายลำดับขั้น เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือแบบประเมินทรวดทรงของรัฐนิวยอร์ค และแบบทดสอบสรรถภาพทางกายมาตรฐานระหว่างประเทศ (ICSPFT) นำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ทางสถิติ โดยการคำนวณหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน คะแนน “ที” และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป เอส พี เอส เอส เอ็กซ์ และเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลในรูปตาราง และความเรียง ผลการวิจับพบว่า 1. นักเรียนชายมีทรวดทรงดี ผิดปกติเล็กน้อย และต้องแก้ไข ร้อยละ 34.2, 54.2, และ 11.6 ตามลำดับ นักเรียนหญิงมีทรวดทรงดี ผิดปกติเล็ดน้อย และต้องแก้ไข ร้อยละ 47.9, 47.9 และ 4.2 ตามลำดับ 2. ค่าเฉลี่ยคะแนนสมรรถภาพทางกายของนักเรียนชายและนักเรียนหญิงมีดังนี้ รายการวิ่ง 50 เมตร 8.72 และ 9.86 วินาที ยืนกระโดดไกล 175.96 และ 146.11 เซนติเมตร แรงบีบมือ 22.52 และ 19.06 กิโลกรัม ลุก-นั่งใน 30 นาที 20.88 และ 15.52 ครั้ง ดึงข้อ 2.20 ครั้ง (ชาย) และงอแขนห้อยตัว 4.76 วินาที (หญิง) วิ่งเก็บของ 12.52 และ 13.98 วินาที งอตัวไปข้างหน้า 9.62 และ 9.82 เซนติเมตร วิ่ง 1,000 เมตร 5.39 นาที (ชาย) และวิ่ง 800 เมตร 4.67 นาที (หญิง) ตามลำดับ 3. ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่าง คะแนนทรวดทรงรวม กับคะแนน “ที” ของสมรรถภาพทางกายรวม ของนักเรียนชาย (r = .332) และนักเรียนหญิง (r = .182) มีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05en_US
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this investigation were to study and to find the relationships between posture and physical fitness of mathayom suksa one students of the eight school cluster under the Jurisdiction of the Department of General Education, Bangkok Metropolis. The 380 samples were, male and female students in the academic year 1991, randomzed by using multistage random sampling method. The instruments in this research were New York State Posture Rating Chart and the ICSPFT physical fitness test. The data had been statistically analyzed in terms of percentages, means, standard deviations, T-score and Pearson Product Moment Correlation Coefficient by the SPSSX program. The results were presented in tables and essays. It was found that : 1. There were 34.2, 54.2 and 11.6 percentages of male students who had good, fair and poor posture respectively. There were 47.9, 47.9 and 4.2 percentages of female students who had good, fair and poor posture respectively. 2. The means of physical fitness test items for boys and girls were : 8.72 and 9.86 seconds for 50 meters run, 175.96 and 146.11 centimeters for standing broad jump, 22.52 and 19.06 kiligram for grip strength, 20.88 and 15.52 times for 30 seconds sit-ups, 2.20 times for pull-ups (boys) and 4.76 seconds for flexed-arm hang (girls), 12.52 and 13.98 seconds for shuttle run, 9.62 and 9.82 centimeters for trunk forward flexion, 5.39 minutes for 1,000 meters run (boys) and 4.67 minutes for 800 meters run (girls), respectively. 3. The relationships between total posture score and T-score of total physical fitness of male (r = .332) and female (r = .182) students were significantly at the .05 level.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างทรวดทรง กับสมรรถภาพทางกายของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ของกลุ่มโรงเรียนที่ 8 สังกัดกรมสามัญศึกษา กรุงเทพมหานครen_US
dc.title.alternativeThe relationships between posture and physical fitness of mathayom suksa one students of the eighth school cluster under the jurisdiction of the Department of General Education, Bangkok Metropolisen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineพลศึกษาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorlprapat@yahoo.com-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Vorayut_kr_front.pdf1.14 MBAdobe PDFView/Open
Vorayut_kr_ch1.pdf934.59 kBAdobe PDFView/Open
Vorayut_kr_ch2.pdf1.72 MBAdobe PDFView/Open
Vorayut_kr_ch3.pdf718.07 kBAdobe PDFView/Open
Vorayut_kr_ch4.pdf1.91 MBAdobe PDFView/Open
Vorayut_kr_ch5.pdf1.72 MBAdobe PDFView/Open
Vorayut_kr_back.pdf2.7 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.