Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/48312
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุวัฒนา ธาดานิติ-
dc.contributor.authorรังสรรค์ นันทกาวงศ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2016-06-08T07:00:30Z-
dc.date.available2016-06-08T07:00:30Z-
dc.date.issued2531-
dc.identifier.isbn9745697168-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/48312-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ผ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2531en_US
dc.description.abstractเขตหนองแขม เป็นเขตชานเมืองที่ได้รับผลกระทบจากการขยายตัวของเมืองกรุงเทพมหานครโดยเฉพาะการขยายตัวทางด้านประชากรและพื้นที่เมือง ซึ่งมีผลให้พื้นที่เกษตรกรรมในเขตหนองแขมลดลงอย่างรวดเร็ว และจากการศึกษาสถิติการเปลี่ยนแปลงของพื้นที่เกษตรกรรมในช่วงปี 2524 – 2530 พบว่าพื้นที่เกษตรกรรมลดลงแตกต่างกัน กล่าวคือ พื้นที่ผลิตนาข้าวลดลงมากที่สุด ส่วนพื้นที่ผลิตสวนผัก สวนผลไม้และสวนไม้ดอกไม้ประดับ (ยกเว้นสวนกล้วยไม้) ลดลงในระดับปานกลาง ในขณะที่พื้นที่ผลิตสวนกล้วยไม้เพิ่มขึ้น จากปรากฎการณ์ที่เกิดขึ้นจะเห็นได้ว่าพื้นที่เกษตรกรรมทั้ง 4 ประเภทมีแรงต้านทานการบุกรุกของพื้นที่เมืองแตกต่างกัน โดยสวนกล้วยไม้มีแรงต้านทานการบุกรุกของเมืองสูงที่สุด ซึ่งเกิดขึ้นจากแรงต้านทานแท้หรือผลตอบแทนที่เกษตรกรได้รับสูงมากพอที่จะดำรงชีวิตอยู่ได้อย่างสุขสบาย ในขณะที่การเกษตรประเภทอื่นได้รับผลตอบแทนต่ำมาก แต่ที่สามารถดำรงอยู่ได้เพราะมีแรงต้านทานเทียม ซึ่งเกิดจากกรรมสิทธิ์หรือการถือครองในที่ดินโดยการเช่า และเมื่อเปรียบเทียบแรงต้านทานทั้ง 2 ประเภทพบว่า แรงต้านทานแท้จะสามารถดำรงอยู่ต่อไปได้ถ้าเกษตรกรยังได้รับผลตอบแทนสูง ซึ่งต่างจากแรงต้านทานเทียมจะสิ้นสุดลงในทันทีถ้าเจ้าของที่ดินต้องการขยายหรือพัฒนาที่ดินนั้น ดังนั้นในการอนุรักษ์พื้นที่เกษตรกรรมในเขตหนองแขม สามารถทำให้โดยการลดแรงบุกของเมืองและในขณะเดียวกันเพิ่มแรงต้านทางของพื้นที่เกษตรกรรม ในทางปฏิบัติแล้วการลดแรงบุกควรจะจำกัดการพัฒนาระบบถนนเท่าที่จำเป็นและตามความเหมาะสม และในการเพิ่มแรงต้านทานเพื่อให้เกิดการอนุรักษ์พื้นที่เกษตร ควรจะประกอบด้วยมาตรกรทางด้านภาษี ด้านการตลาด การบริหาร การผังเมืองและการคลังen_US
dc.description.abstractalternativeAs a district in the fringe area of Bangkok, Nong khaem has been effected by the expansion of population and built up area resulting in rapid decreasing of its agricultural land. This study is aimed to investigate the change of agricultural land use to seek resistant force against urban invasion which would help development plan for the district. From the study, during 1981-1987 there appears difference in changing rate of each agricultural land use. Paddy field decreased most, orchard, vegetable field and flower garden decreased in medium rate, while orchid nursery increased. Thus, it is seen that each agricultural land use has different levels of resistant force. Orchid nursery ranks the highest and the force is intrinsic as agriculturists earn their lives well form it. Other agricultural land used which produce low profit also remain because of the force caused by agriculturists occupying the land either by title or renting. This force will be over if the land owners change land use to other purposes, while genuine resistant force continues as long as the profit is high. Preservation of agricultural area in Nong Khaem district is therefore manageable by reducing urban invasion and increasing resistant force. Limitation of transportation network is a practical way suggested by this study to reduce the invasion. In increasing resistant force, measurements on taxation, marketing. Administration, urban planning and fiscal planning are suggested.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectที่ดินเพื่อการเกษตร -- ไทยen_US
dc.subjectเมือง -- ไทย(ภาคกลาง) -- การเจริญเติบโตen_US
dc.subjectการใช้ที่ดินในเมือง -- ไทยen_US
dc.subjectชานเมืองen_US
dc.subjectหนองแขม(กรุงเทพฯ)en_US
dc.subjectกรุงเทพฯ -- การเจริญเติบโตen_US
dc.titleการศึกษาความสามารถในการต้านทานการบุกรุกของพื้นที่เมือง ที่มีต่อพื้นที่เกษตรกรรมชานเมือง : กรณีศึกษาเขตหนองแขม กรุงเทพมหานครen_US
dc.title.alternativeA study of resistant force against urban invasion caused by agricultural landuse at the fringe of Bangkok Metropolis : a case study of nong khaem disiricten_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameการวางแผนภาคและเมืองมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการวางแผนภาคen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorSuwattana.T@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Rungson_nu_front.pdf1.76 MBAdobe PDFView/Open
Rungson_nu_ch1.pdf829.48 kBAdobe PDFView/Open
Rungson_nu_ch2.pdf1.27 MBAdobe PDFView/Open
Rungson_nu_ch3.pdf8.28 MBAdobe PDFView/Open
Rungson_nu_ch4.pdf9.44 MBAdobe PDFView/Open
Rungson_nu_ch5.pdf2.5 MBAdobe PDFView/Open
Rungson_nu_ch6.pdf1.38 MBAdobe PDFView/Open
Rungson_nu_back.pdf2.84 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.