Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/48316
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorมานิต วิทยาเต็ม-
dc.contributor.advisorชาญวิทย์ ยอดมณ-
dc.contributor.authorวีระชัย พิหเคนทร์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2016-06-08T07:34:16Z-
dc.date.available2016-06-08T07:34:16Z-
dc.date.issued2534-
dc.identifier.isbn9745794457-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/48316-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2534en_US
dc.description.abstractกฎหมายศุลกากร เป็นกฎหมายที่กำหนดความผิดที่เกิดจากข้อห้าม (Mala prohibita) ซึ่งหมายถึงความผิดที่เกิดขึ้น เพราะกฎหมายบัญญัติให้การกระทำนั้นเป็นผิด ทั้งนี้เนื่องจากกฎหมายศุลกากรมีความสำคัญต่อการพัฒนาประเทศ ดังนั้นกฎหมายศุลกากรจึงจำเป็นต้องมีสภาพบังคับและบัญญัติให้ผู้ฝ่าฝืน โดยเฉพาะความผิดฐานหลีกเลี่ยงภาษีศุลกากร มาตรา 27 ต้องรับโทษในอัตราที่สูงอีกทั้งในปัจจุบันการกระทำดังกล่าวถือเป็นอาชญากรรมทางเศรษฐกิจที่รัฐมีนโยบายที่จะปราบปรามโดยเด็ดขาด การวิจัยในครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อทราบถึงเหตุผลของศาลยุติธรรมในการลงโทษผู้กระทำความผิด พ.ร.บ.ศุลกากร พ.ศ. 2469 มาตรา 27 ซึ่งการวินิจฉัยลงโทษดังกล่าว ส่งผลกระทบต่อการป้องกันและปราบปรามการลักลอบหลีกเลี่ยงหรือฝ่าฝืนภาษีศุลกากรหรือไม่อย่างไร ผลการวิจัย พบว่า ส่วนหนึ่งของการลักลอบหลีกเลี่ยงหรือฝ่าฝืนภาษีศุลกากรนั้นเกิดจากบทบัญญัติของกฎหมายศุลกากร พ.ศ. 2469 มาตรา 27 มีความยาวมากและขาดความชัดเจน ซึ่งมีผลให้องค์กงในกระบวนการยุติธรรมวินิจฉัยตีความในลักษณะแคบ ซึ่งมีผลทำให้ผู้กระทำความผิดไม่เกิดความเกรงกลัวกฎหมาย ฉะนั้น จึงควรปรับปรุงกฎหมายดังกล่าว ให้มีความชัดเจน องค์กรยุติธรรมก็จะสามารถใช้กฎหมาในการลงโทษผู้กระทำความผิด ได้ตรงตามเจตนารมณ์ของกฎหมายซึ่งก็จะส่งผลให้การป้องกันและปราบปรามผู้กระทำความผิดมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลen_US
dc.description.abstractalternativeCustoms Acts are the law that indicate liabilities result from "Mala prohibita" for it has been provided to penalty. Customs Acts have been significant for country development, thus it is to be enforced and effective to violators. Especially customs evasion liability as provided in article 27 that has to be criminally liable with high punishment which is suppressed absolutely is considered to be economic crime by the government nowadays. This research's purpose is to be aware of reasons of judge's punishing offenders about Customs Acts. A verdict of above guity, effects to the questions about prevention and suppression Customs Acts' violations. The research is found that some of the offenders about Costoms Acts, in this case, which result from the extensive and equivocal provisions of Customs Acts about offenders follow article 27 B.E. 2469 cause the justice proceedings' organization interpret the law in restriction. So it can make the offenders lack of fear of law. Therefore, it should be improved the law above to be patent, and justice proceedings' organization is able to apply the law about punishing the offenders according to spirit of law. Because it wil prevent and suppress all offenders efficiently and effectively.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectกฎหมายศุลกากรen_US
dc.subjectอาชญากรรมทางเศรษฐกิจen_US
dc.subjectการลักลอบหนีศุลกากรen_US
dc.titleพระราชบัญญัติศุลกากร พ.ศ.2469 : ศึกษาและวิเคราะห์แนววินิจฉัยของศาลฎีกาในการกำหนดโทษตามมาตรา 27en_US
dc.title.alternativeCustoms Acts B.E.2469 : Study and Analogy in Dika Court's Docirine About the Punishment of Article 27.en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineนิติศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Veerachai_pi_front.pdf1.01 MBAdobe PDFView/Open
Veerachai_pi_ch1.pdf791 kBAdobe PDFView/Open
Veerachai_pi_ch2.pdf2.64 MBAdobe PDFView/Open
Veerachai_pi_ch3.pdf3.47 MBAdobe PDFView/Open
Veerachai_pi_ch4.pdf2.69 MBAdobe PDFView/Open
Veerachai_pi_ch5.pdf1.2 MBAdobe PDFView/Open
Veerachai_pi_back.pdf5.51 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.