Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/48539
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจุมพล พูลภัทรชีวิน-
dc.contributor.authorสมพล หาวารี-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2016-06-09T08:06:02Z-
dc.date.available2016-06-09T08:06:02Z-
dc.date.issued2533-
dc.identifier.isbn9745784575-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/48539-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2533en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวคิดของผู้อำนวยการสามัญศึกษาจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือเกี่ยวกับโครงการขยายโอกาสทางการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น กรมสามัญศึกษา โดยใช้เทคนิคการวิจัยแบบ EDFR การวิจัยพบว่า ผู้อำนวยการสามัญศึกษาจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีแนวคิดที่สอดคล้องกันว่า เป้าหมายของโครงการเป็นการจัดการศึกษา เพื่อลดค่าใช้จ่ายของผู้ปกครองนักเรียน ให้นักเรียนได้เรียนใกล้บ้านยิ่งขึ้น ด้านหลักสูตรควรจัดเนื้อหาการจัดการประกอบด้วย ด้านการจัดการเรียนการสอนโรงเรียนควรมีการจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนด้วยตนเองในบางวิชา ปัจจัยที่ชักจูงการเพิ่มปริมาณผู้เรียนต่อ ได้แก่ มีการยกเว้นการเก็บเงินบำรุงการศึกษา การให้หนังสือยืมเรียน การลดค่าใช้จ่ายทางการศึกษา และมีรายได้ระหว่างเรียน รัฐบาลได้สนับสนุนโครงการโดยจัดเงินอุดหนุนให้แก่โรงเรียนในโครงการมากกว่าทั่วไป ผลของโครงการจะเป็นการเปิดโอกาสให้เด็กที่จบชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ได้เรียนต่อชั้นมัธยมศึกษาปีที 1 เพิ่มขึ้นจริง ในด้านปัญหาของโครงการเป็นปัญหาในเรื่องของงบประมาณที่ได้รับล่าช้า และขาดแคลนวิทยากร ตลอดจนอุปกรณ์การสอนและสื่อการสอน รวมทั้งผู้ปกครองนักเรียนต้องการให้บุตรหลานของตนออกไปทำงานen_US
dc.description.abstractalternativeThe main purpose of this research was to study the concepts of the directors of the provincial general education in northeastern region in the democratization of Lower Secondary Education Project, department of general education by using the EDFR technique. The research revealed that the directors of the provincial general education in the northeastern region believed that the purpose of this project was to help reduce the cost of education and provide opportunity for students to be able to go to school close to their homes. Management should be included in the curriculum. Activities for self-learning should be provided in some courses. The number of students is increased by the following factors: free enrollment, free loaned texts, reducing educational expenses, and providing income in school. The government allocated more money to these schools. The result of the Project should bring more opportunity for Prathomsuksa 6 graduates to further their study in Mathayomsuksa 1. The problems of Project were as follow: delay of budget, lack of instructors and instructional aids, and parents’ demand for their child to drop out from school for work.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.titleแนวคิดของผู้อำนวยการสามัญศึกษาจังหวัด ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เกี่ยวกับโครงการขยายโอกาสทางการศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น กรมสามัญศึกษาen_US
dc.title.alternativeConcepts of the directors of the provincial general eduction in northeastern region in the democratization of lower secondary education project, department of general educationen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineพื้นฐานการศึกษาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorChumpol.Po@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Somphon_ha_front.pdf1.38 MBAdobe PDFView/Open
Somphon_ha_ch1.pdf1.47 MBAdobe PDFView/Open
Somphon_ha_ch2.pdf7.06 MBAdobe PDFView/Open
Somphon_ha_ch3.pdf1.29 MBAdobe PDFView/Open
Somphon_ha_ch4.pdf3.73 MBAdobe PDFView/Open
Somphon_ha_ch5.pdf4.86 MBAdobe PDFView/Open
Somphon_ha_back.pdf3.69 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.