Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/48549
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนิรมล ชำนาญนิธิอรรถ-
dc.contributor.authorสมพิศ ตันสุวรรณนนท์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2016-06-09T08:16:02Z-
dc.date.available2016-06-09T08:16:02Z-
dc.date.issued2539-
dc.identifier.isbn9746332627-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/48549-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539en_US
dc.description.abstractวัตถุประสงค์การวิจัยครั้งนี้คือเพื่อศึกษาเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยกำลังแรงยึดดแบบเฉือน/ปอกในขณะดีบอนด์แบรกเก็ตเซรามิกที่มีลักษณะของฐานแบรกเก็ตต่างๆ กัน ได้แก่ แบบพันธะเคมี (Transcend), แบบเชิงกล (Lumina) , แบบเชิงกลและพันธะเคมีร่วมกัน (Fascination) และแบบเชิงกลกับพันธะเคมีร่วมกันแต่ฐานทำจากวัสดุโพลิคาร์บอเนต (Ceramaflex) รวมทั้งศึกษาบริเวณที่มีความล้มเหลวในการยืดติดภายหลังการดีบอนด์แบรกเก็ตเซรามิกที่มีลักษณะของฐานแบรกเก็ตต่างๆ กัน ผลจากการศึกษานี้เพื่อให้ทันตแพทย์จัดฟันได้ใช้เป็นประโยชน์ในการพิจารณาเลือกแบรกเก็ตเซรามิกที่มีประสิทธิภาพสูงสุดให้แก่ผู้ป่วย กลุ่มตัวอย่างเป็นแบรกเก็ตเซรามิกที่ใช้ในเทคนิคไดเร็กบอนด์สำหรับฟันกรามน้อย 4 กลุ่ม (Transcend, Lumina, Fascination, Ceramaflex) กลุ่มละ 60 ตัวอย่าง โดยเป็นแบรกเก็ตเซรามิกที่มีความกว้างของร่อง 0.018 นิ้วและมีลักษณะของฐานแตกต่างกันไปทั้ง 4 กลุ่มดังกล่าว คิดแบรกเก็ตเซรามิกลงบนผิวเคลือบฟันด้านใกล้แก้มของฟันกรามน้อยธรรมชาติด้วยวัสดุยืดติดชนิดบ่มตัวเองได้ (Concise) ทิ้งวัสดุให้แข็งตัว 10 นาทีแล้วจึงฝังฟันลงในท่อพวีซี จากนั้นจึงนำไปเก็บไว้ใน normal saline solution 0.9% ที่อุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียสเป็นเวลา 7 วันก่อนนำไปทดสอบด้วยเครื่องทดสอบทั่วไป DDS-1OT ความเร็วในการดึงทดสอบ 0.5 มม. ต่อนาที และจากนั้นจึงนำฟันกรามน้อยที่ผ่านการดึงทดสอบแล้วไปดูบริเวณที่มีความล้มเหลวในการยึดติดด้วยกล้องจุลทรรศน์สามมิติ จากผลการวิจัยสรุปได้ว่า 1. แบรกเก็ตเซรามิกที่มีลักษณะของฐานต่างๆ กันมีค่าเฉลี่ยกำลังแรงยึดแบบเฉือน / ปอกต่างกัน ที่ระดับนัยสำคัญ 0.01 โดยแบรกเก็ตเซรามิกที่มีลักษณะของฐานแบบพันธะเคมีจะให้ค่าเฉลี่ยกำลังแรงยึดแบบเฉือน / ปอกสูงสุด 2. แบรกเก็ตเซรามิกที่มีลักษณะของฐานต่างๆ กันจะมีบริเวณที่มีความล้มเหลวในการยึดติดภายหลังการคีบอนด์แบรกเก็ตต่างกันโดยฐานแบรกเก็ตเซรามิกแบบพันธะเคมีพบว่ามีการทำลายผิวเคลือบฟันมากถึง 13 ซี่และฐานแบรกเก็ตเซรามิกแบบเชิงกลและพันธะเคมีร่วมกันพบว่ามีการทำลายผิวเคลือบฟัน 4 ซี่en_US
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research were to compare the mean of hand strength in the shear / peel mode of four differently designed ceramic bracket bases which were chemical retention (Transcend), mechanical retention (Lumina) , combination retention (Fascination) and combination retention but base made from polycarbonate (Ceramaflex). Then to study of failure sites after debonding. These results should assist the orthodontist in the selection of the most efficient type of ceramic bracket for patients. Four groups of sixty Edgewise direct-bonding bicuspid ceramic brackets (Transcend, Lumina, Fascination and Ceramaflex) were selected as the sample sets. Each of the ceramic brackets was bonded to the buccal enamel surface of the human bicuspid by Concise and stored in normal saline solution 0.9% at 37 degrees celcius for 7 days after 10 minute bench cured. Samples were debonded by universal testing machine DDS-10T at cross head speed of 0.5 mm. per minute. Research result: 1. There were significant differences in mean shear/peel strength of the four differently designed ceramic bracket bases, at 0.01 level and the chemical retention type of ceramic bracket (Transcend) has the maximum mean shear/peel strength. 2. The ceramic bracket, different designs, has different types of failure surface. Transcend has the most enamel fracture (13 teeth) and Fascination has 4 teeth of enamel fracture.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectOrthodontic Appliance Designen_US
dc.subjectOrthodontic Bracketsen_US
dc.subjectCeramicsen_US
dc.subjectDental Enamelen_US
dc.subjectDental Bondingen_US
dc.subjectTensile Strengthen_US
dc.subjectแบรกเก็ตเซรามิกen_US
dc.subjectทันตกรรมจัดฟันen_US
dc.subjectกำลังแรงยึดแบบเฉือน/ปอก (ทันตกรรม)en_US
dc.titleการศึกษาเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยกำลังแรงยึดแบบเฉือน/ปอกของแบรกเก็ตเซรามิกที่มีลักษณะของฐานต่างๆ กันen_US
dc.title.alternativeA comparative study of shear/peel strength of different ceramic bracket base designsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineทันตกรรมจัดฟันen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorRuckporn.L@Chula.ac.th-
dc.email.advisorniramol.c@chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sujin_se_front.pdf2.71 MBAdobe PDFView/Open
Sujin_se_ch1.pdf3.25 MBAdobe PDFView/Open
Sujin_se_ch2.pdf13.53 MBAdobe PDFView/Open
Sujin_se_ch3.pdf14.34 MBAdobe PDFView/Open
Sujin_se_ch4.pdf3.61 MBAdobe PDFView/Open
Sujin_se_ch5.pdf1.71 MBAdobe PDFView/Open
Sujin_se_back.pdf4.6 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.