Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/48716
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเชาวเลิศ เลิศชโลฬาร-
dc.contributor.authorสุมิตรา เจณณวาสิน-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2016-06-10T06:26:45Z-
dc.date.available2016-06-10T06:26:45Z-
dc.date.issued2530-
dc.identifier.isbn9745673595-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/48716-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2530en_US
dc.description.abstractวัตถุประสงค์ของการวิจัย เพื่อเปรียบเทียบลักษณะของการ์ตูนเรื่องที่มีผลต่อความเข้าใจในการฟังของเด็กปัญญาอ่อน วิธีดำเนินการวิจัย ตัวอย่างประชากรเป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6 โรงเรียนปัญญาวุฒิกร ปีการศึกษา 2529 จำนวน 86 คน ได้จากการสุ่มกลุ่มตัวอย่างอย่างง่ายจากนักเรียนในโรงเรียนซึ่งมีระดับสติปัญญาอยู่ในระหว่าง 50 ถึง 70 จำนวน 113 คน แล้วสุ่มตัวอย่างอย่างง่ายเพื่อเข้ากลุ่มการทดลอง 2 กลุ่ม กลุ่มละ 43 คน กลุ่มที่ 1 เสนอด้วยหนังสือการ์ตูนสีที่มีลักษณะเลียนของจริง กลุ่มที่ 2 เสนอด้วยหนังสือการ์ตูนสีลักษณะล้อของจริง ทั้ง 2 กลุ่มจะได้ดูหนังสือการ์ตูนเรื่องเดียวกัน คือ เรื่องกบเลือกนาย แต่ต่างกันตรงลักษณะของรูปแบบการ์ตูนเท่านั้น โดยจะฟังเนื้อเรื่องและคำถามจากเทปบันทึกเสียง นักเรียนจะตอบคำถามปากเปล่าเมื่อฟังเนื้อหาแต่ละหน้าจบ นำข้อมูลที่ได้จากการทดสอบกลุ่มตัวอย่างประชากรมาทำการวิเคราะห์ความแตกต่างในความเข้าใจในการฟังด้วยการทดสอบค่า t (t-test) สรุปผลการวิจัย ผลการวิจัยพบว่า ความเข้าใจในการฟังเนื้อเรื่องของกลุ่มตัวอย่างที่เสนอด้วยหนังสือการ์ตูนสีลักษณะล้อของจริง มีค่าเฉลี่ยสูงกว่าค่าเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่างที่เสนอด้วยหนังสือการ์ตูนสีลักษณะเลียนของจริงอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05en_US
dc.description.abstractalternativePurpose of the study : The purpose of this research is to compare the types of comics upon the listening comprehension of mentally restarted children. Procedure : The samples were eighty six Prathom Suksa 1 to 6 mentally restarted students who have I.Q. between 50-70, from Panyawuthikorn School, in academic year of 2529 BC. The samples were randomly sampling from the total of 113 students and were randomly assigned in to two groups, 43 students each. The students in the first group were learning from the realistic type comic while the second group were learning from cartoon type comic. The two groups learnt the same story but different types of comic. The students orally answered the questions after they listened to each page of the comic story. Analysis of the data for the difference of the listening comprehension were obtained by t-test. Result of the study : The mean of listening comprehension of the students learning from cartoon type comic was significantly higher than the mean of listening comprehension of the students learning from realistic type comic at 0.05 level of confidence.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการ์ตูนกับเด็กen_US
dc.subjectการสอน -- อุปกรณ์en_US
dc.subjectเด็กปัญญาอ่อน -- การศึกษา (ประถมศึกษา) -- ไทยen_US
dc.subjectภาพในการศึกษาen_US
dc.subjectการฟังen_US
dc.titleการเปรียบเทียบลักษณะของการ์ตูนเรื่องที่มีผลต่อความเข้าใจในการฟัง ของเด็กปัญญาอ่อนen_US
dc.title.alternativeA comparison of types of comics upon the listening comprehension of mentally retarded childrenen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineโสตทัศนศึกษาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorChawalert.L@chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sumitra_ch_front.pdf730.5 kBAdobe PDFView/Open
Sumitra_ch_ch1.pdf867.57 kBAdobe PDFView/Open
Sumitra_ch_ch2.pdf2.01 MBAdobe PDFView/Open
Sumitra_ch_ch3.pdf314.9 kBAdobe PDFView/Open
Sumitra_ch_ch4.pdf344.58 kBAdobe PDFView/Open
Sumitra_ch_ch5.pdf337.34 kBAdobe PDFView/Open
Sumitra_ch_back.pdf1.32 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.