Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/49050
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorดิเรก ลาวัณย์ศิริ-
dc.contributor.authorสหรัฐ พิมพศักดิ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2016-06-12T09:51:52Z-
dc.date.available2016-06-12T09:51:52Z-
dc.date.issued2533-
dc.identifier.isbn9745782475-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/49050-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2533en_US
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์นี้เป็นการศึกษาเกี่ยวกับการประเมินผลวิธีคาดคะเนปริมาณการจราจรที่ใช้ประเมินหาค่าทางด้านผลประโยชน์ในการวิเคราะห์โครงการของกรมทางหลวง ในการศึกษานี้จะครอบคลุมสายทางในความรับผิดชอบของกรมทางหลวง เพื่อต้องการทราบถึงความถูกต้องของวิธีการที่กรมทางหลวงใช้อยู่ในปัจจุบัน วิธีการศึกษาอาศัยการเปรียบเทียบปริมาณการจราจรที่กรมทางหลวงคาดคะเนไว้แล้วในรายงานการศึกษาต่าง ๆ กับปริมาณการจราจรที่ได้จากการสำรวจจริงโดยกรมทางหลวง โดยสมมติฐานว่า ปริมาณการจราจรทั้งสองมีความแตกต่างกันเท่ากับศูนย์ และใช้การทดสอบสมมติฐานแบบ t ผลการศึกษาปรากฏว่า วิธีการคาดคะเนปริมาณการจราจรของกรทางหลวงที่มีข้อมูลเหมาะสมเพียงพอในการทดสอบสมมติฐาน คือวิธีการจาก Studies of National and Provincial Road Network in Thailand. (SRNT) Feasibility Study and Detail Engineering Design for Provincial Road Improvement. (PRI) Second Provincial Road Project (SPRP) Highway Sector Project. (HSP) ซึ่งให้ความถูกต้อง 38.50 % 34.57 % 50.14 % และ 49.00 % ตามลำดับ จากการเปรียบเทียบผลการศึกษาดังกล่าวข้างต้น สรุปได้ว่าวิธีการคาดคะเน ปริมาณการจราจรจาก SPRP ให้ความผิดพลาดน้อยที่สุดen_US
dc.description.abstractalternativeThe objective of this research was to evaluate the traffic forecasting methods in benefits evaluation procedure of the project roads carried out by the Department of Highways. An analysis of the traffic forecasting method was carried out by comparison between traffic forecast in each study projects and traffic census by the Department of Highways. The assumption is that there were no significant difference between both procedures as mentioned above and tested that hypothesis by “t-statistic” values. It was found that the traffic forecasting carried out by Studies of National and Provincial Road Network in Thailand (SRNT), Feasibility Study and Detail Engineering Design for Provincial Road Improvement (PRI),Second Provincial Road Project (SPRP), Highway Sector Project (HSP), has the accuracy of 38.50%, 34.57%, 50.14% and 49.00% respectively.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectปริมาณการจราจร -- การคาดคะเนen_US
dc.subjectการวิเคราะห์และประเมินโครงการen_US
dc.subjectการขนส่ง -- การวางแผนen_US
dc.subjectการเกิดการเดินทางen_US
dc.subjectถนน -- การศึกษาความเป็นไปได้en_US
dc.subjectการเดินทาง -- แบบจำลองen_US
dc.titleการประเมินผลวิธีคาดคะเนปริมาณการจราจรที่ใช้ประเมิน หาผลประโยชน์ของกรมทางหลวงen_US
dc.title.alternativeEvaluation of traffic forecasting for benefits computation of Department of Highwaysen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมโยธาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorldirek@chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Saharat_pi_front.pdf5.95 MBAdobe PDFView/Open
Saharat_pi_ch1.pdf5.15 MBAdobe PDFView/Open
Saharat_pi_ch2.pdf4.71 MBAdobe PDFView/Open
Saharat_pi_ch3.pdf2.42 MBAdobe PDFView/Open
Saharat_pi_ch4.pdf7.15 MBAdobe PDFView/Open
Saharat_pi_ch5.pdf11.92 MBAdobe PDFView/Open
Saharat_pi_back.pdf3.86 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.