Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/49703
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorทวิตีย์ เสนีวงศ์ ณ อยุธยา-
dc.contributor.authorอรอนงค์ องค์ศิริพร-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2016-10-31T07:16:53Z-
dc.date.available2016-10-31T07:16:53Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/49703-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556en_US
dc.description.abstractระบบอิงบริการประกอบด้วยหน่วยที่เรียกว่า เซอร์วิซ ซึ่งมีหน้าที่ให้บริการงานต่างๆผ่านอินเทอร์เน็ต โดยเป็นส่วนหนึ่งของการทำงานในระบบของผู้ใช้บริการ ระบบมีโอกาสเกิดความล้มเหลวเนื่องจากปัญหาที่เกิดขึ้นกับเซอร์วิซ เช่น ปัญหาที่เกี่ยวกับการติดต่อสื่อสาร หรือปัญหาที่เกิดจากความผิดพร่องในตัวเซอร์วิซเอง งานวิจัยนี้มุ่งเน้นไปที่การให้ความสำคัญกับมุมมองด้านการทนต่อความผิดพร่องในขั้นตอนการออกแบบระบบอิงบริการ และนำเสนอยูเอ็มแอลโปรไฟล์สำหรับแบบรูปการทนต่อความผิดพร่อง ซึ่งสามารถนำไปใช้ในการออกแบบระบบอิงบริการใดๆให้มีการทนต่อความผิดพร่อง ยูเอ็มแอลโปรไฟล์ในงานวิจัยนี้ครอบคลุมแบบรูปการทนต่อความผิดพร่องในระดับการออกแบบเชิงสถาปัตยกรรมและแบบรูปสำหรับการตรวจหาและกู้ระบบจากข้อผิดพลาด จากนั้นนำเสนอการประยุกต์ใช้งานยูเอ็มแอลโปรไฟล์เข้ากับการออกแบบกรณีศึกษา ได้แก่ แอพพลิเคชันการจัดการห่วงโซ่อุปทาน ซึ่งเป็นตัวอย่างแอพพลิเคชันสำหรับระบบอิงบริการซึ่งเสนอโดยองค์กรด้านการทำงานร่วมกันระหว่างเว็บเซอร์วิซ งานวิจัยนี้ได้ทำการตรวจสอบความถูกต้องสอดคล้องของการออกแบบยูเอ็มแอลโปรไฟล์ตามคำนิยาม อีกทั้งในการประเมินผลยังพบว่าการออกแบบระบบให้ทนต่อความผิดพร่องยังส่งผลในเชิงบวกต่อคุณลักษณะเชิงคุณภาพหลายลักษณะ ยกเว้นคุณสมบัติด้านความสามารถในการทำความเข้าใจ อันเป็นผลเนื่องมาจากระบบมีความซับซ้อนเพิ่มขึ้น แม้กระนั้นก็ตามการออกแบบได้ช่วยเพิ่มความสามารถในการทนต่อความผิดพร่องให้กับระบบกรณีศึกษาที่นำไปพัฒนาจริงen_US
dc.description.abstractalternativeService-based systems consist of software units called services which provide software functionalities over the Internet to other parts of the systems. The systems may experience failure due to problems associated with the services such as communication problems and faults within the services themselves. In this research, we emphasize the importance of fault tolerance mindset during the design of service-based systems and propose a UML profile for fault tolerance patterns which can be used to build a design model for any fault tolerant service-based systems. The profile covers fault tolerance patterns at the architecture level and the patterns for error detection and recovery. We present how to use the UML profile to design a fault tolerant version of the supply chain management application, a sample application of the Web Services Interoperability Organization. The research reports the consistency checking between the design of UML profile and the corresponding fault tolerance patterns definition. Also an evaluation shows that fault tolerance design has a positive impact on a number of service quality attributes of the design model, except for understandability as a result of higher complexity. Nevertheless, it gives the ability to tolerate faults to the implementation of the case study application.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2013.1565-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectยูเอ็มแอล (วิทยาการคอมพิวเตอร์)en_US
dc.subjectเว็บเซอร์วิสen_US
dc.subjectUML (Computer science)en_US
dc.subjectWeb servicesen_US
dc.titleยูเอ็มแอลโปรไฟล์สำหรับแบบรูปการทนต่อความผิดพร่องสำหรับระบบอิงบริการen_US
dc.title.alternativeUML profile for fault tolerance patterns for service-based systemsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisortwittie.s@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2013.1565-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ornanong_on.pdf3.59 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.