Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/49749
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุรเทพ เขียวหอม-
dc.contributor.authorวรรณทิพา โอภาปัญญโชติ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2016-11-11T03:47:57Z-
dc.date.available2016-11-11T03:47:57Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/49749-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556en_US
dc.description.abstractในกระบวนการผลิตโพลีโพรพิลีนมีการใช้เครื่องแลกเปลี่ยนความร้อนในกระบวนการ โพลีเมอร์ไรเซชันเพื่อควบคุมอุณหภูมิ โดยโพลีเมอร์ที่ออกจากเครื่องปฏิกรณ์จะถูกทำให้เย็นลงเพื่อควบคุมน้ำหนักโมเลกุล ปัญหาหลักที่พบในการดำเนินงานของเครื่องแลกเปลี่ยนความร้อนคือการเกิดตะกรันขึ้นที่ผิวแลกเปลี่ยนความร้อนภายในเครื่องแลกเปลี่ยนความร้อน โดยตะกรันจะไปลดประสิทธิภาพการถ่ายเทความร้อนและลดสมรรถนะในการแลกเปลี่ยนความร้อนระหว่างสายร้อนและสายเย็นลง ปัญหานี้ถูกแก้ไขโดยการทำความสะอาดพื้นผิวที่ใช้ถ่ายเทความร้อนของเครื่องแลกเปลี่ยนความร้อนอย่างสม่ำเสมอ ในงานวิจัยนี้ศึกษาการก่อตัวของตะกรันและสร้างแบบจำลองการก่อตัวของตะกรันในเครื่องแลกเปลี่ยนความร้อน โดยอัตราการก่อตัวของตะกรันจะสัมพันธ์กับระยะเวลาในการดำเนินงาน อุณหภูมิพื้นผิวที่ใช้แลกเปลี่ยนความร้อน อัตราการไหลของของไหล ความหนาแน่นของของไหลและความหนืดของของไหล แบบจำลองการก่อตัวของตะกรันที่พัฒนาขึ้น ได้นำไปสอบทานกับข้อมูลการผลิตอีกชุดหนึ่งและพบว่าข้อมูลจากการทำนายโดยแบบจำลองที่สร้างขึ้นและข้อมูลจากการผลิตจริงมีความสอดคล้องกันดีen_US
dc.description.abstractalternativePolypropylene production process used heat exchangers in the polymerization process in order to control temperature. The polymer leaving the reactor is cooled to maintain its molecular weight. The main problem regarding the operation of heat exchanger is the formation and deposition of fouling at the heat transfer surface inside the heat exchanger. The fouling accumulated reduces heat transfer efficiency and heat transfer performance between hot and cold streams. This problem can be solved by regularly cleaning the heat transfer area of the heat exchanger. This research aims to investigate the fouling formation to model and fouling formation of heat exchanger. The rate of fouling formation and deposition depend on operating time, temperature of heat transfer surface, fluid flow rate, fluid density and viscosity. The fouling model developed is compared with another different set of real operation data. The results show that the data predicted by using the model developed agree well with the real operation data.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2013.1612-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectโพลิโพรพิลีนen_US
dc.subjectโพลิเมอไรเซชันen_US
dc.subjectPolypropyleneen_US
dc.subjectPolymerizationen_US
dc.titleการสร้างแบบจำลองการก่อตัวของตะกรันสำหรับเครื่องแลกเปลี่ยนความร้อนในกระบวนการผลิตโพลีโพรพิลีนen_US
dc.title.alternativeModelling of fouling formation for heat exchanger in propylene production processen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมเคมีen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorSoorathep.K@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2013.1612-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
wantipa_op.pdf1.75 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.