Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/49928
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorPavena Chivatxaranukulen_US
dc.contributor.advisorRuchanee Ampornaramvethen_US
dc.contributor.authorPatinee Pladisaien_US
dc.contributor.otherChulalongkorn University. Faculty of Dentistryen_US
dc.date.accessioned2016-11-30T05:39:34Z-
dc.date.available2016-11-30T05:39:34Z-
dc.date.issued2015en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/49928-
dc.descriptionThesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2015en_US
dc.description.abstractIntroduction: This study compared the effectiveness of different disinfection protocols in reducing bacteria in an Enterococcus faecalis biofilm in teeth with large root canals. Methods: Fifty-five roots were prepared from human mandibular premolars with large single root canals and 50 roots were infected with E. faecalis for 21 days. Four roots were observed using scanning electron microscopy (SEM) to verify biofilm formation. The remaining specimens were assigned into 5 experimental groups and sterile control group: mechanical instrumentation using files size 60–90 (MI); irrigation with 2.5% NaOCl (IRN), irrigation with 2.5% NaOCl followed by intermittent passive ultrasonic irrigation (PUI), irrigation with normal saline (IRS), and no intervention (initial). After root canal disinfection, dentin specimens were collected for microbial analysis. Mean colony forming units (CFU) counts were calculated and compared between groups using one-way ANOVA. Results: The lowest number of intracanal bacteria (24.5 CFU/mL) was recovered from the MI group followed by the PUI and IRN groups. IRS alone did not demonstrate a significant reduction compared with the initial group. However, there were significant differences between groups (P <.01). The remaining bacteria in the PUI group was 4.5 fold lower compared with the IRN group, however, it was 1862 fold higher than that in the MI group. Conclusions: MI was the most effective method to disinfect large root canals. Although PUI enhanced the efficacy of root canal irrigation, it could not substitute for MI, even in large root canals where irrigant access to the apical portion was unlimited.en_US
dc.description.abstractalternativeบทนำ: การศึกษานี้มีจุดประสงค์เพื่อเปรียบเทียบประสิทธิผลของเกณฑ์วิธีการฆ่าเชื้อที่แตกต่างกันในการลดปริมาณแบคทีเรียในแผ่นคราบชีวภาพของเชื้อเอ็นเตอโรคอคคัส ฟีคัลลิส ในฟันที่มีคลองรากขนาดใหญ่ วิธีวิจัย: เตรียมรากฟันกรามน้อยล่างของมนุษย์ที่มี 1 คลองรากฟันและมีคลองรากขนาดใหญ่จำนวน 55 ซี่ โดยรากฟัน 50 ซี่จะถูกนำไปเพาะเลี้ยงเชื้อเอ็นเตอโรคอคคัส ฟีคัลลิสให้เข้าสู่คลองรากฟันเป็นเวลา 21 วัน ในงานวิจัยนี้ รากฟัน 4 ซี่จะถูกนำไปวิเคราะห์การเกิดแผ่นคราบชีวภาพบนผนังคลองรากฟันด้วยกล้องอิเลกตรอนแบบส่องกราด ส่วนรากฟันอีก 51 ซี่จะถูกแบ่งเป็นกลุ่มควบคุมที่ปราศจากเชื้อ (sterile control) จำนวน 3 ซี่ และกลุ่มที่ทดสอบเกณฑ์วิธีการฆ่าเชื้อที่แตกต่างกันจำนวน 48 ซี่ คือ 1) กลุ่มเตรียมคลองรากฟันโดยใช้เคไฟล์เบอร์ 60-90 (MI) 2) กลุ่มชะล้างคลองรากฟันเพียงอย่างเดียวด้วยโซเดียมไฮโปคลอไรท์ความเข้มข้น 2.5% (IRN) 3) กลุ่มชะล้างคลองรากฟันด้วยโซเดียมไฮโปคลอไรท์ความเข้มข้น 2.5% ร่วมกับการใช้อัลตราโซนิก (PUI) 4) กลุ่มชะล้างคลองรากฟันเพียงอย่างเดียวด้วยน้ำเกลือ (IRS) และ 5) กลุ่มที่ไม่ได้รับการฆ่าเชื้อในคลองรากฟัน (initial) หลังจากทำการฆ่าเชื้อในคลองรากฟันแล้ว จะเก็บเนื้อฟันในส่วนผนังคลองรากฟันเพื่อนำมาวิเคราะห์ทางจุลชีววิทยาโดยเปรียบเทียบจากค่าเฉลี่ย (mean) ของหน่วยก่อรูปโคโลนี (CFU count) และนำมาวิเคราะห์โดยใช้สถิติวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (one-way ANOVA)ที่ระดับความเชื่อมั่น 95% ผลการวิจัย: กลุ่ม MI พบปริมาณแบคทีเรียที่หลงเหลืออยู่ในคลองรากฟันน้อยที่สุด (24.5 CFU/mL) ตามด้วยกลุ่ม PUI และกลุ่ม IRN ตามลำดับ ปริมาณแบคทีเรียที่หลงเหลืออยู่ในกลุ่ม IRS ไม่แตกต่างจากกลุ่ม initial แต่พบว่าปริมาณของแบคทีเรียที่หลงเหลืออยู่ในคลองรากฟันในกลุ่มอื่นๆมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<.01) โดยมีปริมาณของแบคทีเรียที่หลงเหลืออยู่ในกลุ่ม PUI น้อยกว่ากลุ่ม IRN 4.5 เท่า และมากกว่ากลุ่ม MI 1,862 เท่า สรุปผลวิจัย: เกณฑ์วิธีการฆ่าเชื้อที่มีประสิทธิผลสูงสุดในฟันคลองรากขนาดใหญ่คือ วิธีการเตรียมคลองรากฟัน ถึงแม้ว่าอัลตราโซนิกจะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพของการชะล้างคลองรากฟันขนาดใหญ่ที่ไม่มีข้อจำกัดของการเข้าถึงของน้ำยาล้างคลองรากฟัน แต่ก็ไม่สามารถทดแทนวิธีการเตรียมคลองรากฟันได้en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChulalongkorn Universityen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2015.116-
dc.rightsChulalongkorn Universityen_US
dc.subjectEnterococcus
dc.subjectDental pulp cavity
dc.subjectRoot canal therapy
dc.subjectเอนเตอโรค็อกคัส
dc.subjectคลองรากฟัน
dc.subjectการรักษาคลองรากฟัน
dc.titleEFFECTIVENESS OF DIFFERENT DISINFECTION PROTOCOLS IN THE REDUCTION OF BACTERIA IN ENTEROCOCCUS FAECALIS BIOFILM IN LARGE ROOT CANAL TEETHen_US
dc.title.alternativeประสิทธิผลของเกณฑ์วิธีการฆ่าเชื้อที่แตกต่างกันในการลดปริมาณแบคทีเรียในแผ่นคราบชีวภาพของเชื้อเอ็นเตอโรคอคคัสฟีคัลลิส ในฟันที่มีคลองรากขนาดใหญ่en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameMaster of Scienceen_US
dc.degree.levelMaster's Degreeen_US
dc.degree.disciplineEndodontologyen_US
dc.degree.grantorChulalongkorn Universityen_US
dc.email.advisorPavena.C@Chula.ac.th,pavenachi@gmail.comen_US
dc.email.advisorRuchanee.A@Chula.ac.th,ruchanee@gmail.comen_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2015.116-
Appears in Collections:Dent - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5575815432.pdf2.6 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.