Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/50033
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | โอฬาร กิตติธีรพรชัย | en_US |
dc.contributor.author | พรรณภา พรหมจันทร์ | en_US |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ | en_US |
dc.date.accessioned | 2016-11-30T05:41:36Z | |
dc.date.available | 2016-11-30T05:41:36Z | |
dc.date.issued | 2558 | en_US |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/50033 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2558 | en_US |
dc.description.abstract | ตลอดทศวรรษที่ผ่านมาบริษัทก่อสร้างเฉพาะทางที่รับผิดชอบทั้งงานออกแบบทางวิศวกรรม งานจัดซื้อและงานก่อสร้าง หรือบริษัทอีพีซี ได้รับความนิยมในการก่อสร้างที่สมัยใหม่และซับซ้อน เช่น โรงกลั่นน้ำมันและโรงงานปิโตรเคมี ด้วยลักษณะงานและความผิดพลาดในจุดใดจุดหนึ่งส่งผลกระทบอย่างต่อเนื่องต่อโครงการทางบริษัทอีพีซีจึงต้องพัฒนาการติดต่อสื่อสารเพื่อให้มั่นใจว่าการบริการรวดเร็วปราศจากข้อผิดพลาดตั้งแต่การออกแบบจนกระทั่งถึงการก่อสร้าง งานวิจัยนี้นำเสนอกรณีศึกษาของแผนกระบบท่อของบริษัทอีพีซีแห่งหนึ่งที่มีการแก้ไขข้อกำหนดของวัสดุท่อบ่อยครั้งเนื่องจากข้อผิดพลาด โดยการศึกษาข้อมูลเบื้องต้นของการแก้ไขงานระบุว่าข้อผิดพลาดเกิดขึ้นจากบุคลากรของแผนกอาทิเช่น พิมพ์ผิด คำนวณผิด และละเลย วิธีการหนึ่งที่สามารถช่วยแก้ปัญหาความผิดพลาดของมนุษย์ดังกล่าวได้อย่างเป็นระบบคือการใช้ระบบสารสนเทศที่รวมข้อมูลมาตรฐานการออกแบบ รหัสวัสดุและลักษณะของวัสดุเข้าไว้ด้วยกัน ระบบช่วยเหลือการจัดทำข้อกำหนดของวัสดุท่อดังกล่าวทำงานบนเครือข่ายสื่อสารภายในของบริษัทและถูกพัฒนาขึ้นจากการรวบรวมข้อกำหนดของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและเอกสารที่เกี่ยวข้อง หลังจากที่ได้ออกแบบความสัมพันธ์และการไหลของข้อมูลแล้วทางผู้วิจัยได้ทดสอบระบบช่วยเหลือการจัดทำข้อกำหนดของวัสดุท่อกับโครงการก่อสร้างที่อยู่ในระยะดำเนินการออกแบบ ผลการทดสอบพบว่าเปอร์เซ็นต์เฉลี่ยความผิดพลาดเฉลี่ยของโครงการลดลงจาก 5.36 เหลือ 0.20 นอกจากนี้ระบบดังกล่าวยังช่วยลดเวลาการสร้างรหัสวัสดุและลดความซ้ำซ้อนของการป้อนข้อมูล | en_US |
dc.description.abstractalternative | For several decades, a specialized construction company that is responsible for engineering, procurement and construction (EPC) has become popular in modern and complex building structures such as gas refineries and chemical plants. To ensure its seamless services from design to fabrication, an EPC company requires constant communication between departments because any errors could have cascading effects that may delay a project. This article presents a case study of a piping department that experienced many material coding revisions resulted from errors. The preliminary data indicated that the majority of errors are derived from an internal material team, particularly typo, miscalculation, and ignorance. One systematic way to reduce and prevent these human errors is to employ an information system that integrates designing standards, engineering codes, and characteristic of materials. Having identified the stakeholder, the web-based intranet system was internally developed by gathering requirements and reviewing related documents. After the entity diagram and data flow diagram were established, the developing team validated the information system with several construction projects that were in the design stage. The implementation of the information system showed that the percentage of piping material error was reduced from 5.36 to 0.20. Furthermore, the system also streamlines the coding process and eliminates the redundancy of data. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2015.1401 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | ท่อ -- การออกแบบ | |
dc.subject | ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ | |
dc.subject | การจัดหาจัดซื้อทางอุตสาหกรรม | |
dc.subject | Pipe -- Design | |
dc.subject | Management information systems | |
dc.subject | Industrial procurement | |
dc.title | การออกแบบระบบช่วยจัดทำข้อกำหนดของวัสดุท่อ | en_US |
dc.title.alternative | Design of piping material specification aided system | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | วิศวกรรมอุตสาหการ | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | Oran.K@chula.ac.th,oran.k@chula.ac.th | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2015.1401 | - |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
5670937521.pdf | 5.02 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.