Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/50112
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุภวัฒน์ วิวรรธ์ภัทรกิจen_US
dc.contributor.authorกำชัย วงศ์วัฒนเกียรติen_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัยen_US
dc.date.accessioned2016-11-30T05:43:01Z-
dc.date.available2016-11-30T05:43:01Z-
dc.date.issued2558en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/50112-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2558en_US
dc.description.abstractความแตกต่างกันในลักษณะทางกายภาพและค่าความร้อนของเชื้อเพลิงเป็นอุปสรรคต่อการกำหนดสัดส่วนที่เหมาะสมของเชื้อเพลิงชีวมวล งานวิจัยนี้จัดทำขึ้นเพื่อศึกษาองค์ประกอบของเชื้อเพลิงสองชนิดคือ แกลบและเปลือกไม้ยูคาลิปตัสเนื่องจากปัจจุบันมีโรงไฟฟ้าชีวมวลเกิดขึ้นอย่างมากในประเทศไทยตอบรับแผนพัฒนาพลังงานทางเลือกของหน่วยงานรัฐ จึงทำให้เกิดปัญหาการแย่งชิงเชื้อเพลิงในพื้นที่ และไม่เพียงพอต่อความต้องการในการผลิตกระแสไฟฟ้าเพื่อจำหน่ายเข้าระบบ ซึ่งจากแผนพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือกปี 2015 ที่มีการส่งเสริมการใช้ชีวมวลในการผลิตไฟฟ้าจากชีวมวลถึง 5,750 เมกะวัตต์ ชี้ให้เห็นว่าปริมาณเชื้อเพลิงที่จะต้องนำมาใช้เพื่อให้ได้การผลิตไฟฟ้าตามกำหนดหนดนั้นมีปริมาณมหาศาล แต่หากมีการพัฒนาคุณภาพของเชื้อเพลิงจะทำให้ปริมาณการใช้เชื้อเพลิงลดลงถึง 2 เท่าตัวของปริมาณการใช้เชื้อเพลิงปกติ จากการทดลองจะพบว่าปริมาณเชื้อเพลิงผสมที่มีการพัฒนาแล้วเพื่อนำมาใช้ในการเผาไหม้ในโรงไฟฟ้าชีวมวลขนาด 9.9 เมกะวัตต์ มีอัตราการใช้เชื้อเพลิงต่ำสุดอยู่ที่ 7.82 ตันต่อชั่วโมง เมื่อเทียบกับอัตราการใช้เชื้อเพลิงปกติหลังจากบดย่อยซึ่งอยู่ที่ 15.8 ตันต่อชั่วโมง จะพบว่ามีความแตกต่างกันมาก แต่ต้องคำนึงถึงอัตราส่วนของเชื้อเพลิงผสมที่เหมาะสมกับต้นทุนของการนำเชื้อเพลิงมาพัฒนาเพื่อเพิ่มคุณภาพด้วย ซึ่งผลของการศึกษาอัตราส่วนและความคุ้มค่าพบว่าอัตราส่วนของการผสมเชื้อเพลิงระหว่างแกลบกับเปลือกไม้ยูคาลิปตัส และความคุ้มค่าในการพัฒนาคุณภาพเชื้อเพลิงผสมที่เหมาะสมอยู่ที่หนึ่งต่อเก้าของหน่วยน้ำหนักตัน คือใช้แกลบในอัตราหนึ่งส่วน และเปลือกไม้ยูคาลิปตัสในอัตราเก้าส่วนของน้ำหนักรวมหนึ่งตันเพื่อนำมาเผาไหม้ในเตาเผาไหม้แบบตะกรับเลื่อนให้ได้ค่าความร้อนตามค่าพารามิตเตอร์กำหนด แต่ต้องคำนึงถึงการนำเชื้อเพลิงร่วมไปใช้ในอัตราส่วนที่เหมาะสมที่เตาเผาไหม้สามารถเผาไหม้ได้โดยไม่ก่อให้เกิดปัญหากับระบบการทำงานด้วยen_US
dc.description.abstractalternativeThe difference of physical properties and heating value of fuel affects the properness of fuel mixed in ratio. This research studied the component of two kinds of fuel, rice husk and eucalyptus peel. At present, there are a number of biomasses power plants in Thailand to respond to alternative power to government agencies; therefore, the problem of spoiling fuel in area that is not sufficient for the need in electric generations distributed into system, which is Alternative Energy Development Plan 2015: AEDP 2015 (B.E. 2015-2032). There was promotion on the use of biomass to produce 5,750 megawatts of electricity generation , in order to indicate the amount of fuel used in producing electricity require by regulations which large amount of quantities. However, the amount was reduced two times from normal use of fuel consumption. The study showed that fuel mixture developed for use in burning fuel of a 9.9 MW biomass power plant with the lowest fuel consumption was 7.82 tons per hour compared to normal use after grinding and milling, which was 15.8 tons per hour. It was also found that there was a distinguish difference. However, we have to look at the fuel mixture ratio at the cost of importing fuel developed to increase quality as well. The results of the study showed that optimum quality costs of the fuel mixture ratio between rice husk and eucalyptus peel, and optimum quality costs of improving the quality and value of the fuel mixture, is ​​one of the nine unit tons. But regardless of using fuel mixture the ratio of the burner can burn without causing problems with the system.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2015.927-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectพลังงานชีวมวล-
dc.subjectอุตสาหกรรมพลังงานชีวมวล-
dc.subjectโรงไฟฟ้า-
dc.subjectBiomass energy-
dc.subjectBiomass energy industries-
dc.titleการจัดการเชื้อเพลิงร่วมในโรงไฟฟ้าชีวมวล กรณีศึกษาเชื้อเพลิงจากแกลบร่วมกับเปลือกไม้ยูคาลิปตัสen_US
dc.title.alternativeCo-fuel management for biomass power plant : case study of rice husk and eucalyptus bark co-fuelen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineเทคโนโลยีและการจัดการพลังงานen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorSupawat.V@Chula.ac.th,supawat@eri.chula.ac.then_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2015.927-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5687506620.pdf4.19 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.