Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/50113
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Saikaew Thipakorn | en_US |
dc.contributor.author | Pichayapa Deethonglang | en_US |
dc.contributor.other | Chulalongkorn University. Graduate School | en_US |
dc.coverage.spatial | Korea (South) | |
dc.date.accessioned | 2016-11-30T05:43:01Z | - |
dc.date.available | 2016-11-30T05:43:01Z | - |
dc.date.issued | 2015 | en_US |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/50113 | - |
dc.description | Thesis (M.A.)--Chulalongkorn University, 2015 | en_US |
dc.description.abstract | Confucian ideology had influenced on Korean society since Chosun period. Women’s roles are traditionally limited in household. However, they control and manage most family affairs according to Hyunmo-Yangcho idea (good wife, wise mother). In 1960s, the standards of living by industrialization and modernization motivated rural women to be more responsible for household income. Most of them helped their families by leaving to cities and started working. There were changes in women’s social and economic roles. They had inspiration to participate in social affairs. The government initiated rural development strategy. They proposed the Fourth Five-Year National Economic Development Plan by introducing Saemaul Undong to rural villages nationwide. In 1970s, group of woman in Oryu village led by Mrs. Chung Moon-ja started forming the first women organization called Saemaul women’s club. Saemaul women’s club aimed to actively perform the projects for village income. Oryu village later became the best village reserve and wealthy community. The government wished to promote the famous successful Oryu village as another part of Saemaul Undong project. They thus used women as the key actor who practiced the major roles in national rural development. The result of the policy implementation is rural development emerged and successful. In addition, women who pushed Saemaul Undong to this success also benefited since their status was enhanced. | en_US |
dc.description.abstractalternative | สังคมเกาหลีได้รับอิทธิพลของแนวคิดขงจื๊อซึ่งทำให้บทบาทของสตรีถูกจำกัดอยู่เพียงแต่ภายในครัวเรือนและไม่ได้รับการยอมรับจากหน่วยสังคมอื่นๆเป็นเวลานานแล้ว อย่างไรก็ดี นับตั้งแต่มาตรฐานของชีวิตความเป็นอยู่อันเกิดขึ้นจากการพัฒนาภาคอุตสาหกรรมและกระแสความทันสมัยในช่วงพ.ศ.2503- 2512 ได้ผลักดันสตรีชนบทให้เกิดสำนึกความรับผิดชอบต่อรายได้ของครัวเรือนขึ้น สตรีส่วนใหญ่จึงช่วยเหลือครอบครัวของตนโดยการย้ายถิ่นฐานไปทำงานที่โรงงานในเมืองและได้รับการศึกษา บทบาททางเศรษฐกิจและสังคมของสตรีจึงเปลี่ยนให้พวกเธอตื่นตัวต่อการเข้าร่วมกิจกรรมทางสังคมยิ่งขึ้น ภายใต้การปกครองของประธานาธิบดีปาร์คจองฮีในยุครัฐบาลเผด็จการประชาธิปไตย แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่4 (พ.ศ. 2520-2524) ได้มุ่งเน้นการปรับโครงสร้างพื้นฐานเพื่อให้เกิดการพัฒนาด้วยตัวเองและความเจริญเติบโตเท่าเทียมกัน ขบวนการเซมาอึลอุนดงจึงเกิดขึ้นผ่านแนวคิดของรัฐบาลที่มองเห็นการร่วมมือและรวมกลุ่มกันของชาวบ้านในแต่ละหมู่บ้าน โดยเฉพาะกลุ่มสตรีที่ใช้ชื่อว่าสโมสรสตรีแห่งเซมาอึลแห่งหมู่บ้านโอรยูในจังหวัดจอนบุกที่มีนางจองมุนจาเป็นผู้นำนั้นได้ริเริ่มโครงการเงินออมประจำครัวเรือนขึ้นจนประสบความสำเร็จและเปลี่ยนทัศนคติของสมาชิกในแต่ละครอบครัวใหม่ นอกจากนี้สโมสรสตรีแห่งเซมาอึลยังได้ริเริ่มโครงการใหม่ๆขึ้นอีกหลายโครงการสำหรับเป็นรายได้เข้าสู่หมู่บ้านด้วย หมู่บ้านโอรยูจึงได้รับการสนับสนุนจากภาครัฐบาลให้เป็นชุมชนมั่งคั่ง จนเป็นที่รู้จักอย่างแพร่หลาย ภาครัฐบาลต้องการสนับสนุนความสำเร็จที่สตรีแห่งหมู่บ้านโอรยูได้ทำให้เป็นส่วนหนึ่งของโครงการเซมาอึลอุนดงอย่างเป็นทางการ จึงได้ก่อตั้งสถาบันฝึกอบรมผู้นำสตรีสำหรับการพัฒนาหมู่บ้านของตนเองขึ้นโดยมุ่งพัฒนาชนบททั่วประเทศให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน นอกจากสโมสรสตรีแห่งเซมาอึลจะตอบสนองกับแนวคิดตามหลักเซมาอึลอุนดงในเรื่องความเป็นผู้นำในสังคมสวัสดิการประชาธิปไตยแล้ว ยังสร้างบทบาทและเพิ่มพื้นที่ให้กับผู้หญิงได้เข้ามามีส่วนร่วมในกิจกรรมทางสังคมของเกาหลีมากขึ้น แม้สถานะของผู้หญิงเกาหลียังไม่สามารถเทียบเท่าผู้ชายได้อย่างสมบูรณ์แต่ก็ได้รับการยอมรับการมีตัวตนอยู่จากการที่พวกเธอมีสิทธิในการตัดสินใจร่วมพัฒนาชุมชนมากขึ้น แต่หากมองอีกแง่หนึ่งของการสนับสนุนสโมสรสตรีแห่งเซมาอึลโดยภาครัฐบาล ปรากฏการณ์นี้เป็นเพียงผลที่เกิดอย่างไม่ตั้งใจเท่านั้น | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | Chulalongkorn University | en_US |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2015.1069 | - |
dc.rights | Chulalongkorn University | en_US |
dc.subject | Women's rights | |
dc.subject | Women -- Korea (South) | |
dc.subject | Women -- Social conditions | |
dc.subject | Women -- Government policy | |
dc.subject | สิทธิสตรี | |
dc.subject | สตรี -- เกาหลี (ใต้) | |
dc.subject | สตรี -- ภาวะสังคม | |
dc.subject | สตรี -- นโยบายของรัฐ | |
dc.title | SOUTH KOREAN GOVERNMENT'S ROLES INSUPPORTING WOMEN'S STATUS THROUGH THE SAEMAUL UNDONG PROJECT | en_US |
dc.title.alternative | บทบาทของภาครัฐบาลเกาหลีใต้ในการสนับสนุนสถานะสตรีผ่านโครงการเซมาอึลอุนดง | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | Master of Arts | en_US |
dc.degree.level | Master's Degree | en_US |
dc.degree.discipline | Korean Studies | en_US |
dc.degree.grantor | Chulalongkorn University | en_US |
dc.email.advisor | Saikaew.T@chula.ac.th,tsaikaew@gmail.com,Saikaew.T@Student.chula.ac.th | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2015.1069 | - |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
5687566220.pdf | 1.56 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.