Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/50198
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรักชนก คชานุบาลen_US
dc.contributor.authorเมทิณี แสงกระจ่างen_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. วิทยาลัยประชากรศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2016-12-01T08:02:19Z-
dc.date.available2016-12-01T08:02:19Z-
dc.date.issued2558en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/50198-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2558en_US
dc.description.abstractการวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยภูมิหลัง ปัจจัยทัศนคติ และปัจจัยการคล้อยตามกลุ่มอ้างอิง กับความต้องการมีบุตรของสตรีโสดไทยที่มีอายุระหว่าง 20-44 ปี ข้อมูลจากโครงการวิจัย การศึกษาภาวะสมรสและทัศนคติต่อการสมรสของสตรีไทยในสังคมยุคใหม่ ระยะที่ 1 ดำเนินการในช่วงปี พ.ศ. 2552-2553 ขนาดตัวอย่างของการวิจัยครั้งนี้คือ สตรีโสดไทย ที่มีอายุ 20-44 ปี และทำงานในระบบจำนวนทั้งสิ้น 1,186 ราย ผลการวิจัยพบว่าทฤษฎีการกระทำด้วยเหตุผลกับข้อมูลเชิงประจักษ์จากกลุ่มตัวอย่างมีความสอดคล้องกันดี เมื่อพิจารณาค่า Chi-square (X2) ค่า Root mean square error of approximation (RMSEA) และ ค่า Comparative fit index (CFI) เท่ากับ 10.79, 0.01 และ 0.99 ตามลำดับ ผลการวิจัยพบว่า อายุ การศึกษา ทัศนคติต่อการสมรส ทัศนคติต่อการมีบุตร และการคล้อยตามกลุ่มอ้างอิง เป็นปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความต้องการมีบุตรที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 โดยทัศนคติต่อการสมรส และทัศนคติต่อการมีบุตร มีอิทธิพลทางตรงต่อความต้องการมีบุตร ในขณะที่อายุ การศึกษา และการคล้อยตามกลุ่มอ้างอิง มีอิทธิพลทางอ้อมต่อความต้องการมีบุตร โดยมีอิทธิพลผ่านทางทัศนคติต่อการสมรส และทัศนคติต่อการมีบุตร และผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยที่มีอิทธิพลสูงสุดต่อความต้องการมีบุตรของสตรีโสดไทย อายุ 20-44 ปีที่ทำงานในระบบ คือ ทัศนคติต่อการสมรส ทัศนคติต่อการมีบุตร อายุ การคล้อยตามกลุ่มอ้างอิง และการศึกษา ตามลำดับen_US
dc.description.abstractalternativeThis research aims to investigate the determinants of childbearing intentions for single Thai women working in the formal sector, aged 20-44 years old. Data from A Study on Nuptiality and Attitudes toward Marriage among Women in Modern Thai Society Project, conducted in 2009-2010, was employed in this research. The sample size for this study included 1,186 Thai women aged 20-44 years old, who are single and working in the formal sector. The results showed that the theory of Reasoned Action and data findings from the samples are completely fit. Chi-square, Root mean square error of approximation and Comparative fit index were 10.79, 0.01 and 0.99, respectively. The determinants of childbearing intentions included age, level of education, attitudes toward marriage, attitudes toward childbearing and subjective norms at a 0.05 level of significance. Both attitudes toward marriage and attitudes toward childbearing showed direct effects on childbearing intentions, while age, level of education and subjective norms had indirect effects on childbearing intentions through attitudes toward marriage and attitudes toward childbearing. The key determinant of childbearing intentions was attitudes toward marriage, attitudes toward childbearing, age, subjective norms and education.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.titleความต้องการมีบุตรของสตรีไทยที่ทำงานในระบบen_US
dc.title.alternativeCHILDBEARING INTENTIONS OF THAI WOMEN IN FORMAL SECTORen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาเอกen_US
dc.degree.disciplineประชากรศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorRukchanok.K@Chula.ac.th,Rukchanok.K@chula.ac.then_US
Appears in Collections:Pop - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5486959951.pdf5.93 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.