Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/50223
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอรทัย ชวาลภาฤทธิ์en_US
dc.contributor.authorศิรชนม์ อรรถสารประสิทธิ์en_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2016-12-01T08:03:04Z-
dc.date.available2016-12-01T08:03:04Z-
dc.date.issued2558en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/50223-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2558en_US
dc.description.abstractสีรีแอคทีฟเป็นสีที่มีการนำมาใช้กันทั่วไปสำหรับการย้อมผ้าฝ้ายมีสมบัติคือมีสีของน้ำทิ้งที่เข้มข้นสูงและละลายในน้ำได้ดีถูกกำจัดโดยวิธีการบำบัดชีวภาพแบบดั้งเดิมรวมถึงวิธีตกตะกอนทางเคมีได้ยาก สีดิสเพิร์สมีความสามารถในการละลายน้ำได้ต่ำและถูกกำจัดสีโดยวิธีตกตะกอนทางเคมีได้ง่าย ในงานวิจัยนี้ศึกษาการบำบัดสีย้อมรีแอคทีฟ 196 และสีย้อมดิสเพิร์ส 153 โดยใช้กระบวนการออกซิเดชันด้วยกระแสไฟฟ้าปฏิกรณ์แบบไหลตามกันโดยใช้ขั้ว Pt/Ti เป็นทั้งขั้วแอโนดและแคโทดและกระบวนการตกตะกอนทางเคมีโดยใช้สารส้ม และได้ประยุกต์ใช้วิธีการพื้นที่ผิวตอบสนองเพื่อวิเคราะห์ผลของความเข้มข้นสีเริ่มต้น กระแสไฟฟ้า อัตราการไหลและค่าพีเอชเริ่มต้นแบบแยกส่วนและผลรวมต่อกระบวนการออกซิเดชันด้วยกระแสไฟฟ้า และศึกษาผลของความเข้มข้นสีเริ่มต้น ความเข้มข้นสารส้มและค่าพีเอชเริ่มต้นแบบแยกส่วนและผลรวมต่อกระบวนการตกตะกอนทางเคมี มีการใช้การวิเคราะห์ความแปรปรวน (ANOVA) เพื่อทดสอบความถูกต้องของแบบจำลองในการทำนายประสิทธิภาพในการบำบัดสี ผลของการวิเคราะห์ความแปรปรวนแสดงถึงความเหมาะสมของแบบจำลองที่จะใช้แทนผลการทดลองที่สภาวะแตกต่างกัน การบำบัดสีรีแอคทีฟ 196 สีดิสเพิร์ส 153 และสีผสมของสีรีแอคทีฟ 196 และสีดิสเพิร์ส 153 สามารถบำบัดสีได้ 83.3% 64.2% และ 71.6% ตามลำดับและมีค่าใช้จ่ายในการดำเนินการ 0.85 บาท/ลบ.ม. 57.42 บาท/ลบ.ม. และ 3.92 บาท/ลบ.ม. ตามลำดับ การตกตะกอนทางเคมีสามารถบำบัดสีได้ 57.5% 97.0% และ 57.0% ตามลำดับและมีค่าใช้จ่ายในการดำเนินการ 5.35 บาท/ลบ.ม. 1.22 บาท/ลบ.ม. และ 3.66 บาท/ลบ.ม. ตามลำดับ พื้นที่ผิวตอบสนองแสดงถึงผลของอัตราการไหลส่งผลต่อประสิทธิภาพการบำบัดสีของกระบวนการออกซิเดชันด้วยกระแสไฟฟ้าอย่างมากในทุกช่วงการทดลอง ในขณะที่ค่าพีเอชและความเข้มข้นสารส้มส่งผลการบำบัดสีรีแอคทีฟ 196 และสีดิสเพิร์ส 153 ด้วยวิธีตกตะกอนทางเคมีด้วยสารส้มอย่างมากตามลำดับ ค่าพีเอชที่เหมาะสมของกระบวนการออกซิเดชันด้วยกระแสไฟฟ้าอยู่ในช่วงกรดพีเอช 5 ถึง 7 ในขณะที่การบำบัดด้วยกระบวนการตกตะกอนทางเคมีด้วยสารส้มพีเอชที่เหมาะสมอยู่ในช่วงที่เป็นกลางถึงเบสเล็กน้อย 7 ถึง 8.75en_US
dc.description.abstractalternativeReactive dyes most commonly used for cotton dyeing, has a strong effluent color and are highly soluble in water which is not easily removed by conventional methods and chemical precipitation. On the other hand, Disperse dye has low solubility in water and can be easily decolorize by chemical coagulation. The present work the removal of synthetic wastewater containing reactive red 196 and disperse red 153 aqueous solution was studied by plug flow electro-oxidation reactor using Pt/Ti as anode and cathode and coagulation using aluminium sulfate. A response surface methodology was applied to evaluate the single and combine effect of dye concentration, applied current, flow rate and initial pH for electro-oxidation process and evaluate combine effect of dye concentration, aluminium sulfate concentration and initial pH for coagulation process. The statistical model analysis of variance (ANOVA) was applied to test the adequacy of model constructed. The model response of color removal (%) was examined. The ANOVA results showed that the model was adequate to represents variations of response. The electro-oxidation of reactive 196, disperse 153 and mixture of reactive 196 and disperse 153 achieved removal efficiency of 83.3%, 64.2% and 71.6% respectively and operating cost of 0.85 baht/m3, 57.42 baht/m3, 3.92 baht/m3 respectively. The chemical coagulation of reactive 196, disperse 153 and mixture of reactive 196 and disperse 153 achieved removal efficiency of 57.5%, 97.0% and 57.0% respectively and operating cost of 5.35 baht/m3, 1.22 baht/m3, 3.66 bath/m3 respectively. The graphical model showed that flow rate strongly affect the color removal of electro-oxidation process at all range. On the other hand initial pH and aluminium sulfate concentration strongly affect the color removal of reactive 196 and disperse 153 respectively. The optimum pH for electro-oxidation process is in acid range pH 5-7 and optimum pH for coagulation is in neutral to slightly basic range pH 7-8.75.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.titleการเปรียบเทียบการบำบัดน้ำเสียสีย้อมโดยวิธีการออกซิเดชันด้วยกระแสไฟฟ้าและวิธีการตกตะกอนทางเคมีen_US
dc.title.alternativeComparison of textile wastewater treatment by electro-oxidation and chemical coagulationen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมสิ่งแวดล้อมen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorOrathai.C@Chula.ac.th,orathai.c@chula.ac.then_US
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5570396921.pdf6.54 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.