Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/50308
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชัยพร ภู่ประเสริฐen_US
dc.contributor.authorธีรทัต กงทองen_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2016-12-01T08:04:39Z
dc.date.available2016-12-01T08:04:39Z
dc.date.issued2558en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/50308
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2558en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้เป็นการศึกษาความเป็นไปได้ในการแก้ปัญหาเฉพาะหน้าสลัดจ์ไม่จมตัวในระบบเอเอส ด้วยวัสดุช่วยตกตะกอนที่ต่างกัน 3 ชนิด คือ ทัลก์ ถ่านกัมมันต์ และยางบดละเอียด ที่ขนาดและปริมาณต่างกัน คือ ทัลก์ขนาด 8, 19, 41, 65 ไมโครเมตร ถ่านกัมมันต์ขนาด 103, 213, 365, 802 ไมโครเมตร และยางบดละเอียดขนาด 223, 408, 450, 644 ไมโครเมตร ด้วยปริมาณที่ต่างกัน คือ 20%, 50%, 80% และ 100% ของน้ำหนักวัสดุช่วยตกตะกอนต่อน้ำหนักจุลินทรีย์ เพื่อศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิภาพของวัสดุช่วยตกตะกอนที่มีผลต่อความเร็วเริ่มต้นของการตกตะกอนในขณะที่เกิดปัญหาสลัดจ์ไม่จมตัว ทั้งนี้การประเมินประสิทธิภาพการตกตะกอนใช้ค่าความเร็วเริ่มต้นของการตกตะกอน (Initial Settling Velocity) และค่าดัชนีปริมาตรตะกอน (Sludge Volume Index) จากผลการทดลองพบว่าการเติมวัสดุช่วยตกตะกอนทั้ง 3 ชนิดสามารถช่วยเพิ่มความเร็วเริ่มต้นของการตกตะกอนให้สูงขึ้น และทำให้ค่าดัชนีปริมาตรตะกอนลดลง โดยวัสดุช่วยตกตะกอนที่มีขนาดเล็กและปริมาณมากทำให้ความเร็วในการตกตะกอนเพิ่มสูงขึ้น โดยทัลก์ทำให้ค่าความเร็วเริ่มต้นของการตกตะกอนมีค่าสูงที่สุด คือ 393% เมื่อเทียบกับความเร็วในการตกตะกอนของชุดควบคุมที่ไม่มีการเติมวัสดุช่วยตกตะกอน สูงกว่าถ่านกัมมันต์ คือ 77% และยางบดละเอียด คือ 23% จากการศึกษาด้วยกล้องจุลทรรศน์พบว่า วัสดุช่วยตกตะกอนและจุลินทรีย์สามารถเข้ากันได้ดี วัสดุช่วยตกตะกอนกระจายตัวเข้าทุกพื้นที่ของตะกอนจุลินทรีย์ เกิดการอัดตัวกันแน่นและตกตะกอนดีขึ้น ดังนั้นผลการวิจัยสรุปได้ว่าวัสดุช่วยตกตะกอนสามารถช่วยแก้ปัญหาเฉพาะหน้าสลัดจ์ไม่จมตัวได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทำให้ระบบสามารถผลิตน้ำใสให้กับระบบได้en_US
dc.description.abstractalternativeThis research studied the effects of ballasting agent for immediate solving of sludge bulking problem in activated sludge process. Three types of ballasting agent with 4 average sizes, talc (8, 19, 41, 65 µm) powder activated carbon (PAC) (103, 213, 365, 802 µm) and crumb rubber (223, 408, 450, 644 µm) were tested. Concentrations of ballasting agent were also varied, i.e. 0%, 20%, 50% and 100% of sludge concentration were also tested. The initial settling velocity (ISV) and sludge volume index (SVI) were used to demonstrate the sludge settling efficiency. The results showed that all three ballasting agents could immediately increase an initial settling velocity and showed a low SVI. Small size and high concentration of all of ballasting agent could improve settling efficiency, which indicated from higher the ISV, 393% than the control without ballasting agent in every condition and than 77% and 23% for talc, PAC and crumb rubber respectively. The study of floc formation between ballasting agent and sludge by microscope showed that, the ballasting agent can attach on floc surface and filamentous bacteria. The ballasting agents were wildly spread into the floc structure and increased the settling velocity. So results showed that all type of ballasting agents could solve the immediate problem of sludge bulking.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2015.1419-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectน้ำเสีย -- การบำบัด -- การตกตะกอน
dc.subjectการกำจัดน้ำเสีย
dc.subjectน้ำเสีย -- การบำบัด -- กระบวนการแบบตะกอนเร่ง
dc.subjectSewage -- Purification -- Precipitation
dc.subjectSewage disposal
dc.subjectSewage -- Purification -- Activated sludge process
dc.titleวัสดุช่วยตกตะกอนเพื่อแก้ปัญหาเฉพาะหน้าสลัดจ์ไม่จมตัวในระบบแอกทิเวเต็ดสลัดจ์en_US
dc.title.alternativeBallasting agent for immediate solution for sludge bulking in activated sludge processen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมสิ่งแวดล้อมen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorChaiyaporn.P@Chula.ac.th,thingtingtam@yahoo.com,chaiyaporn.p@chula.ac.then_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2015.1419-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5670229921.pdf7.01 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.