Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/50319
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ปารเมศ ชุติมา | en_US |
dc.contributor.author | วัชรวิทย์ ถนนทอง | en_US |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ | en_US |
dc.date.accessioned | 2016-12-01T08:04:52Z | - |
dc.date.available | 2016-12-01T08:04:52Z | - |
dc.date.issued | 2558 | en_US |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/50319 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2558 | en_US |
dc.description.abstract | การจัดลำดับการผลิตรถยนต์บนสายการประกอบผลิตภัณฑ์ผสมแบบสองด้าน จัดเป็นปัญหาที่มีความยุ่งยากและสลับซับซ้อน เนื่องจากเป็นปัญหาประเภท Non-deterministic Polynomial Hard: NP-Hard ซึ่งยากต่อการค้นหาคำตอบเมื่อขนาดปัญหามีขนาดใหญ่ขึ้น ปัญหาการจัดลำดับการผลิตรถยนต์แบบผลิตภัณฑ์ผสมบนสายการประกอบแบบสองด้านนี้ ได้พิจารณาฟังก์ชันวัตถุประสงค์ 3 ฟังก์ชัน คือ จำนวนครั้งการเปลี่ยนแปลงสีน้อยที่สุด ปริมาณงานที่ทำไม่เสร็จน้อยที่สุด และจำนวนรถยนต์ที่ละเมิดรวมน้อยที่สุด และนำเสนออัลกอริทึมการบรรจวบร่วมกับฟัซซี่ลอจิก (Combinatorial Optimization with Fuzzy Logic: COIN-F) ซึ่งเป็นอัลกอริทึมที่ประยุกต์มาจาก COIN มาใช้ในการแก้ปัญหา โดยสร้างกฎทางฟัซซี่เพื่อใช้ในการปรับค่าพารามิเตอร์ในการให้รางวัลและลงโทษให้เหมาะสมกับสถานการณ์ และทำการออกแบบการทดลองเพื่อหาระดับค่าพารามิเตอร์ที่เหมาะสมสำหรับแต่ละเซตปัญหา โดยทำการเปรียบเทียบกับอัลกอริทึมที่เป็นที่ยอมรับในการแก้ปัญหาการจัดลำดับการผลิต ได้แก่ NSGA-II, DPSO และ COIN-E ผลการทดลองแสดงให้เห็นอย่างชัดเจนว่า COIN-F มีสมรรถนะในการแก้ปัญหาที่ดีกว่า ทั้งในดัชนีการลู่เข้าสู่คำตอบที่เหมาะสมที่สุดแบบพาเรโต ดัชนีการกระจายตัวของกลุ่มคำตอบ ดัชนีด้านอัตราส่วนของกลุ่มคำตอบที่ไม่ถูกครอบงำ ดัชนีด้านจำนวนคำตอบที่ไม่ถูกครอบงำ แต่ดัชนีด้านเวลาที่ใช้ในการหาคำตอบ COIN-E ใช้เวลาในการหาคำตอบที่ดีกว่า DPSO, COIN-F และ NSGA-II ตามลำดับ เนื่องจาก COIN-F มีการเพิ่มกระบวนการทำงานให้กับอัลกอริทึมทำให้ใช้เวลาในกระบวนการค้นหาคำตอบที่นานกว่า | en_US |
dc.description.abstractalternative | Multi-objective car sequencing problem on mixed-model two-sided assembly lines is known to be a NP-hard problem, a nearly impossible to obtain the optimal solution for large scale practical problems. In this research, three objective functions are considered including 1) decreasing the number of color changes, 2) minimizing utility work and 3) reducing the number of violation. The Combinatorial Optimization with Coincidence with Fuzzy logic (COIN-F) algorithm is developed from its original version (i.e. COIN). Developing fuzzy logic rule to adjust reward and punishment parameters of COIN and apply the design of experiment to obtain the appropriate levels of factors for each problem. Several well-known algorithms are compared in solving this problem including Non-dominated Sorting Genetic Algorithms (NSGA-II), Discrete Particle Swarm Optimization (DPSO) and Expanded Combinatorial Optimization with Coincidence (COIN-E). The experimental results indicate that COIN-F has better performances than NSGA-II, DPSO, COIN-E algorithms, in terms of convergence to the Pareto-optimal set, spread of solutions, ratio of non-dominated solution and number of non-dominated but in term of computation time to solution, COIN-E has better performance than DPSO, COIN-F and NSGA-II respectively. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2015.1264 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | รถยนต์ -- การผลิต | - |
dc.subject | อุตสาหกรรมรถยนต์ | - |
dc.subject | สายการผลิต | - |
dc.subject | การจัดสมดุลสายการผลิต | - |
dc.subject | Automobiles | - |
dc.subject | Automobile industry and trade | - |
dc.subject | Assembly-line methods | - |
dc.subject | Assembly-line balancing | - |
dc.subject | Fuzzy logic | - |
dc.subject | ฟัสซีลอจิก | - |
dc.title | การจัดลำดับการผลิตรถยนต์แบบหลายวัตถุประสงค์บนสายการประกอบผลิตภัณฑ์ผสมแบบสองด้านด้วยอัลกอริทึมการบรรจวบร่วมกับฟัซซี่ลอจิก | en_US |
dc.title.alternative | Multi-objective car sequencing problem on mixed-model two-sided assembly lines with combinatorial optimization with coincidence with fuzzy logic | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | วิศวกรรมอุตสาหการ | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | Parames.C@Chula.ac.th,cparames@chula.ac.th | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2015.1264 | - |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
5670375821.pdf | 9.44 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.