Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/50477
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorญาใจ ลิ่มปิยะกรณ์en_US
dc.contributor.authorเอกรัตน์ พรมพิลาen_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2016-12-01T08:08:19Z-
dc.date.available2016-12-01T08:08:19Z-
dc.date.issued2558en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/50477-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2558en_US
dc.description.abstractการสร้างต้นแบบเป็นเทคนิคหนึ่งที่สามารถใช้เพื่อทดสอบกระบวนการทางธุรกิจหรือกระแสส่วนต่อประสาน การสร้างต้นแบบมีสองประเภทหลัก กล่าวคือ แบบรวดเร็ว และเชิงวิวัฒน์ ต้นแบบเอชทีเอ็มแอลถูกจัดอยู่ในประเภทต้นแบบเชิงวิวัฒน์ ต้นแบบชนิดนี้จะถูกสร้างใหม่ ปรับให้ถูกต้องยิ่งขึ้น และวิวัฒนาการไปสู่ระบบที่ปฏิบัติงานได้ เอกสารคำอธิบายต้นแบบเป็นเอกสารประกอบที่จำเป็นต้องจัดทำขึ้น ในงานนี้ คำอธิบายต้นแบบถูกนิยามว่าเป็นเอกสารที่อธิบายรายละเอียดของการออกแบบส่วนต่อประสานผู้ใช้และกระแสงานที่นำเสนอโดยแผนภาพการนำทางหน้าต่างสมมูล เอกสารดังกล่าวเป็นส่วนหนึ่งของข้อกำหนดความต้องการซอฟต์แวร์ซึ่งเตรียมขึ้นเพื่อให้ลูกค้าลงนามตกลงในเฟสการวิเคราะห์ความต้องการ อย่างไรก็ตาม การจัดทำเอกสารของต้นแบบหรือการสร้างคำอธิบายต้นแบบต้องใช้ทรัพยากร มีแนวโน้มที่จะเกิดความผิดพลาด และเลวร้ายมากขึ้นในกรณีที่ความต้องการเปลี่ยนแปลง งานวิจัยนี้จึงได้เสนอแนวทางอัตโนมัติเพื่อสร้างคำอธิบายต้นเหตุจากการเก็บเกี่ยวเนื้อหาของต้นแบบเอชทีเอ็มแอล โดยภาษาคำอธิบายกราฟหรือ ดอท ได้ถูกใช้เพื่อช่วยในการสร้างแผนภาพการนำทางหน้าต่างสมมูล ทั้งนี้ ระบบที่ถูกพัฒนาขึ้นจะช่วยอำนวยความสะดวกงานจัดเตรียมเอกสาร พัฒนาบูรณภาพของสิ่งส่งมอบ และเพิ่มผลิตภาพของโครงการen_US
dc.description.abstractalternativePrototyping can be used as a technique to test business process or user interface flows. There are two major prototyping: Rapid and Evolutionary. A HTML prototype is regarded as a kind of the Evolutionary prototype. During the evolutionary development, the prototype is rebuilt, refined, and evolved to the functional system. The creation of prototype description document is also required as the supplementary. In this work, prototype description is defined as the document describing the details of user interface design and flows represented by window navigation equivalent diagram. The document is part of the Software Requirements Specification prepared for the client to sign-off the requirements analysis phase. However, the documentation of prototypes or the creation of prototype description is resource consuming, error-prone, and aggravated in case of requirements change. This research thus presents an automated approach to creating prototype description from harvested HTML prototypes. The graph description language, DOT, is used to aid the construction of window navigation equivalent diagram. The implemented system would facilitate the documentation chore, improve integrity of deliverables, and increase project productivity.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.titleการเตรียมเอกสารอัตโนมัติจากต้นแบบเอชทีเอ็มแอลen_US
dc.title.alternativeAutomating Documentation of HTML Prototypeen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมซอฟต์แวร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorYachai.L@Chula.ac.th,yachai.l@chula.ac.then_US
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5770984021.pdf3.87 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.