Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/50560
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorSomsak Pakpinyoen_US
dc.contributor.advisorJiroj Sasipreeyajanen_US
dc.contributor.authorKriengwich Limpavithayakulen_US
dc.contributor.otherChulalongkorn University. Faculty of Veterinary Scienceen_US
dc.date.accessioned2016-12-01T08:09:44Z-
dc.date.available2016-12-01T08:09:44Z-
dc.date.issued2015en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/50560-
dc.descriptionThesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2015en_US
dc.description.abstractMycoplasma synoviae (MS), a remarkable pathogen in poultry industry, causes subclinical infection of upper respiratory tract and an infectious synovitis especially in the tendon sheaths and synovial membranes of joints. In addition, vaccination at farm level might have limitation because the information on diagnostic tests to differentiate field and vaccine strains was deficient. Although the specific detection of MS, 16S rRNA gene-based PCR, has been widely used to detect MS infected flocks, the sequencing of these gene is not suitable for strain differentiation. The vlhA gene-based PCR was designed to differentiate MS strains because it is encoding for hemagglutinin protein and other immunodominant membrane proteins which can be involving in colonization, antigenic variations, and virulence. The sequence analysis of vlhA gene were useful for typing and subtyping of MS strains based on the nucleotide insertion/deletion of proline-rich repeat (PRR) region and the nucleotide polymorphisms of RIII region in vlhA gene fragments. This study was designed to characterize Thai MS field isolates and to determine the strain differentiation between Thai field strains and vaccine strain by using sequence analysis of partial vlhA gene. In total, 20 MS field isolates submitted from registered chicken farms in Thailand during 2015, were identified as C1 (n=1), C2 (n=4), E1 (n=9), E2 (n=1), and L (n=5). The results revealed that six of nine isolates resulting in respiratory signs were type E1. In addition, four isolates from lame chickens showing joint swelling were type L with 105 nucleotides length. This study provides the first molecular data of Thai MS isolates and the first evidence of type L for being arthropathic strain. Furthermore, co-infection of MS types E and L was observed in one farm while other farms were affected by only one type of MS. The result indicated that sequence analysis of partial vlhA gene can be used as a tool for tracing MS characterization.en_US
dc.description.abstractalternativeเชื้อมัยโคพลาสมา ซินโนวีอี (เชื้อเอ็มเอส) เป็นเชื้อจุลชีพก่อโรคที่มีความสำคัญในระบบอุตสาหกรรมการเลี้ยงสัตว์ปีกเนื่องจากสามารถก่อปัญหาในลักษณะของโรคติดเชื้อแบบไม่แสดงอาการในระบบทางเดินหายใจส่วนบนและโรคอักเสบติดเชื้อของข้อขาโดยเฉพาะบริเวณปลอกเอ็นกล้ามเนื้อ ในขณะที่การควบคุมป้องกันโรคโดยการทำวัคซีนฟาร์มเลี้ยงสัตว์ปีกก็ยังมีข้อมูลงานวิจัยสนับสนุนไม่มากพอโดยเฉพาะข้อมูลเกี่ยวกับวิธีการตรวจวินิจฉัยสำหรับแยกความแตกต่างระหว่างเชื้อเอ็มเอสจากวัคซีนและเชื้อเอ็มเอสที่ก่อปัญหาในพื้นที่ แม้ว่าการตรวจวินิจฉัยด้วยการตรวจหายีน 16S rRNA ของเชื้อเอ็มเอสโดยอาศัยวิธีการตรวจในระดับอณูชีววิทยาหรือพีซีอาร์นั้นจะเป็นวิธีการตรวจที่มีความจำเพาะสูงและได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายในปัจจุบัน แต่การวิเคราะห์ลำดับเบสหรือนิวคลีโอไทด์ของยีน 16S rRNA นี้ก็ยังไม่สามารถนำมาประยุกต์ใช้สำหรับการจำแนกความแตกต่างของเชื้อเอ็มเอสแต่ละสายพันธุ์ได้ ดังนั้นการตรวจวินิจฉัยด้วยวิธีพีซีอาร์ที่มีความจำเพาะต่อยีนวีแอลเอชเอของเชื้อเอ็มเอสจึงได้รับการออกแบบและพัฒนาขึ้นมาเพื่อประโยชน์ในการตรวจเพื่อจำแนกความแตกต่างของเชื้อเอ็มเอสแต่ละสายพันธุ์เนื่องจากยีนวีแอลเอชเอนี้ทำหน้าที่ควบคุมการสังเคราะห์โปรตีนฮีแมกกลูตินินและโปรตีนต่างๆที่เยื่อหุ้มเซลล์ของเชื้อเอ็มเอส โดยโปรตีนเหล่านี้ล้วนแล้วแต่มีกลไกการทำงานที่เกี่ยวข้องกับการเจริญเติบโตของเชื้อเอ็มเอสในอวัยวะเป้าหมายซึ่งจะมีความเกี่ยวข้องกับความรุนแรงและความหลากหลายในการก่อโรคของเชื้อด้วย การวิเคราะห์ลำดับเบสของยีนวีแอลเอชเอสามารถแยกเชื้อเอ็มเอสสายพันธุ์ต่างๆออกเป็นกลุ่มหลัก (typing) และกลุ่มย่อย (subtyping) ได้โดยอาศัยข้อมูลขนาดความยาวเบสของส่วน Proline-rich repeat (PRR) ในยีนวีแอลเอชเอ และข้อมูลความหลากหลายของรูปแบบลำดับเบสของส่วน RIII ในยีนวีแอลเอชเอ การศึกษาครั้งนี้ได้รับการออกแบบขึ้นมาเพื่อศึกษาข้อมูลคุณลักษณะในระดับโมเลกุลของเชื้อเอ็มเอสที่พบในประเทศไทยและศึกษาถึงการนำวิธีการวิเคราะห์ลำดับเบสของยีนวีแอลเอชเอบางส่วนมาใช้สำหรับการแยกสายพันธุ์ของเชื้อเอ็มเอสที่พบในพื้นที่กับเชื้อเอ็มเอสจากวัคซีน สำหรับเชื้อเอ็มเอสจากพื้นที่ทั้ง 20 isolate จากการสำรวจตัวอย่างฟาร์มไก่ในประเทศไทยในช่วงปี พ.ศ. 2558 นั้นได้รับการจัดแบ่งอยู่ในกลุ่ม C1 (1 isolate) C2 (4 isolate) E1 (9 isolate) E2 (1 isolate) และ L (5 isolate) นอกจากนี้ยังพบอีกว่าเชื้อเอ็มเอสทั้ง 9 isolate ที่แยกได้จากไก่ที่มีอาการป่วยของระบบทางเดินหายใจจะได้รับการจัดอยู่ในกลุ่ม E1 ถึง 6 isolate ในขณะที่เชื้อเอ็มเอสทั้ง 4 isolate ที่แยกได้จากไก่ที่แสดงอาการขากะเผลกจะถูกจัดอยู่ในกลุ่ม L ทั้งหมดด้วยขนาดความยาวเบสของส่วน PRR 105 เบสซึ่งถือว่าเป็นข้อมูลหลักฐานใหม่ของเชื้อเอ็มเอสสายพันธุ์ L ที่มีความสามารถในการก่อโรคข้อขาอักเสบในไก่ด้วย และยังพบอีกว่าฟาร์มที่เข้าร่วมการศึกษาในครั้งนี้เกือบทั้งหมดนั้นจะตรวจพบเชื้อเอ็มเอสเพียงแค่ 1 สายพันธุ์ ยกเว้นเพียงฟาร์มแห่งเดียวเท่านั้นที่ตรวจพบเชื้อเอ็มเอสทั้งสายพันธุ์ E และ L ผลการศึกษาในครั้งนี้ช่วยยืนยันได้ว่าการวิเคราะห์ลำดับเบสของยีนวีแอลเอชเอนั้นสามารถนำมาใช้ตรวจแยกสายพันธุ์ของเชื้อเอ็มเอสได้en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChulalongkorn Universityen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2015.505-
dc.rightsChulalongkorn Universityen_US
dc.subjectPathogenic microorganisms
dc.subjectChickens -- Infections
dc.subjectจุลชีพก่อโรค
dc.subjectไก่ -- การติดเชื้อ
dc.titleMOLECULAR CHARACTERIZATION AND STRAIN DIFFERENTIATION OF THAI MYCOPLASMA SYNOVIAE ISOLATES BY SEQUENCING OF PARTIAL VLHA GENEen_US
dc.title.alternativeคุณลักษณะในระดับโมเลกุลและการจำแนกสายพันธุ์ของเชื้อมัยโคพลาสมา ซินโนวีอีที่พบในประเทศไทยด้วยข้อมูลลำดับเบสของยีนวีแอลเอชเอบางส่วนen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameMaster of Scienceen_US
dc.degree.levelMaster's Degreeen_US
dc.degree.disciplineVeterinary Medicineen_US
dc.degree.grantorChulalongkorn Universityen_US
dc.email.advisorSomsak.Pa@Chula.ac.th,somsak.pa@chula.ac.then_US
dc.email.advisorJiroj.S@Chula.ac.then_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2015.505-
Appears in Collections:Vet - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5775302031.pdf5.4 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.