Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/50627
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกมลชนก สุทธิวาทนฤพุฒิen_US
dc.contributor.authorโสภณัฐ ธนสมบูรณ์en_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัยen_US
dc.date.accessioned2016-12-01T08:11:06Z-
dc.date.available2016-12-01T08:11:06Z-
dc.date.issued2558en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/50627-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2558en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบความร่วมมือทางด้านโซ่อุปทานที่เหมาะสมระหว่างหน่วยงานภาครัฐสองหน่วยงาน ได้แก่ กองทัพอากาศและบริษัทไปรษณีย์ไทย ดิสทริบิวชั่น โดยใช้การสัมภาษณ์เชิงลึกแก่ผู้บริหารระดับสูงของกองทัพอากาศและบริษัทไปรษณีย์ไทยซึ่งมีอำนาจหน้าที่ในการกำหนดนโยบายทางด้านโลจิสติกส์ของทั้งสองหน่วยและการจัดทำแบบประเมินตัวขับเคลื่อนและตัวส่งเสริมในการพัฒนาความร่วมมือในโซ่อุปทานระหว่างหน่วยงานภาครัฐ ซึ่งพัฒนาจาก Driver assessment และ Facilitator Assessment ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของ Partnership Model ซึ่งคิดค้นขึ้นโดย Douglas M. Lambert ซึ่งแบ่งความร่วมมือระหว่างองค์กรออกเป็นสามประเภทตามระดับความร่วมมือ ผลการวิจัยสามารถสรุปสาระสำคัญได้สามประการ ประการแรก รูปแบบความร่วมมือที่เหมาะสมอยู่ในระดับสูง หมายถึง ทั้งสององค์กรสามารถทำความร่วมมือโดยมีมุมมองว่าแต่ละองค์กรเป็นเสมือนองค์กรของตน ความร่วมมือไม่กำหนดระยะเวลาสิ้นสุด มีความร่วมมือกันได้ในระดับยุทธศาสตร์ ประการที่สอง ตัวขับเคลื่อนหลัก ในการสร้างความร่วมมือ คือ การสนับสนุนหน่วยผู้ใช้งานพัสดุ และการพัฒนาองค์กรจากการทำความร่วมมือกับหน่วยงานภายนอก และประการที่สาม ตัวส่งเสริมหลัก ในการสร้างความร่วมมือ คือ ความเข้ากันได้ระหว่างองค์กร และ ความเต็มใจในการสร้างความร่วมมือซึ่งกันและกัน อย่างไรก็ตามจากการสัมภาษณ์เชิงลึกผู้บริหารระดับสูงของทั้งสององค์กร เนื่องจากทั้งสององค์กรยังไม่เคยมีการจัดทำความร่วมมือกันมาก่อน จึงควรที่จะเริ่มต้นจากรูปแบบความร่วมมือในระดับต้นก่อนและจึงพัฒนาระดับความร่วมมือไปยังระดับกลาง และระดับสูงต่อไปen_US
dc.description.abstractalternativeT The objective of this research is to find appropriate Supply Chain Collaboration between the Royal Thai Air Force (RTAF) and Thailandpost Distribution (THPD) which is state enterprise under Ministry of Information and Communication Technology to develop Supply Chain process to gain the best benefit for Government of Thailand The Method of this research use In-Depth Interview and questionnaire adjusted from Partnership Mode which developed by Douglas Lambert to the RTAF and THPD Senior Level who have authority in Supply Chain Policy decision for each unit, The partnership model divide partnership level to three types, Type I, Type II and Type III depend on level of collaboration with evaluate by Driver and Facilitator Assessments The research demonstrate three majors. First, appropriate level of collaboration between the RTAF and THPD is Type III which mean that both organization share a significant level of strategic and operational integration, each party views the other as an extension of their own firm and no “end date” for the partnership exists. Second, key drivers for both organization are Customer Service and Advantage for collaboration. Third, key facilitators are Cooperate Compatibility and Mutuality. However, after interview executive level from both organization because of both organizations never do supply chain collaboration together in previous history , therefore the collaboration level should start from Type I then develop to higher level in the future.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.titleความร่วมมือในการพัฒนาระบบโซ่อุปทานระหว่างหน่วยงานภาครัฐen_US
dc.title.alternativeSUPPLY CHAIN COLLABORATION DEVELOPMENT BETWEEN GOVERNMENT AGENCIESen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการจัดการด้านโลจิสติกส์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorKamonchanok.S@Chula.ac.th,kamonchanok.s@chula.ac.then_US
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5787265420.pdf3.8 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.