Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/50844
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ปวีณา เชาวลิตวงศ์ | en_US |
dc.contributor.author | สุริยะ เปียอยู่ | en_US |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ | en_US |
dc.date.accessioned | 2016-12-02T02:05:01Z | - |
dc.date.available | 2016-12-02T02:05:01Z | - |
dc.date.issued | 2558 | en_US |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/50844 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2558 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้จัดทำขึ้นเพื่อการออกแบบระบบการวางแผนการผลิตโยเกิร์ต โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อช่วยลดระยะเวลาการสร้างแผนผลิตที่มีข้อจำกัดการผลิตที่ซับซ้อน ทั้งในเรื่องกำลังการผลิตของแต่ละกระบวนการ การใช้อุปกรณ์ร่วมกัน รวมถึงข้อกำหนดด้านการทำความสะอาดเครื่องจักร ซึ่งปัจจุบันพบว่าผู้ทำหน้าที่วางแผนผลิตใช้ระยะเวลาในการสร้างแผนและปรับแผนนาน เนื่องจากต้องพิจารณาข้อกำหนดต่างๆ ของกระบวนการผลิต แต่พบว่ายังไม่สามารถพิจารณาได้อย่างครบถ้วนและถูกต้อง ส่งผลให้เกิด 1) การรอคอยของเครื่องบรรจุที่เพิ่มความเสี่ยงด้านการส่งมอบสินค้าให้กับลูกค้า 2) เนื้อโยเกิร์ตมีระยะเวลารอการบรรจุนานกว่าที่กำหนด ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อคุณภาพสินค้าที่จะมีรสชาติเปรี้ยวมากกว่ามาตรฐาน รวมถึงเพิ่มโอกาสในการแยกชั้นของเนื้อโยเกิร์ต ระหว่างการจัดเก็บ จากการวิเคราะห์การวางแผนการผลิตในรูปแบบปัจจุบัน พบว่าหลักการวางแผนที่ใช้เป็นแบบ Forward scheduling ซึ่งไม่เหมาะกับการผลิตโยเกิร์ตที่มีข้อกำหนดเรื่องระยะเวลารอคอยการบรรจุ รวมถึงการวางแผนยังเป็นแบบแมนนวลโดยพนักงานเพียงคนเดียว ทำให้ใช้ระยะเวลานานและมีความเสี่ยงในด้านการขาดบุคลากรในการทำงาน โดยงานวิจัยนี้ได้เสนอการปรับปรุงการวางแผนการผลิต โดยการประยุกต์ใช้หลักการจ่ายงานแบบ EDD และวางแผนการผลิตแบบ Backward scheduling นอกจากนี้ได้ใช้ VBA ในโปรแกรม Microsoft Excel เพื่อช่วยในการจัดการข้อกำหนดของการผลิตและช่วยลดระยะเวลาในการสร้างแผน รวมถึงการปรับปรุงแผนระหว่างสัปดาห์ พบว่าสามารถลดระยะเวลาในการวางแผนผลิตลงได้ 90% ไม่พบการรอคอยของเครื่องบรรจุและระยะเวลาที่โยเกิร์ตอยู่ในถังก่อนการบรรจุไม่เกินมาตรฐานที่กำหนด นอกจากนี้ยังสามารถจัดการเวลาในการทำความสะอาดของเครื่องจักรที่ใช้ในกระบวนการผลิตได้ครบถ้วน ซึ่งเป็นหนึ่งในข้อกำหนดที่สำคัญสำหรับอุตสาหกรรมการผลิตอาหาร | en_US |
dc.description.abstractalternative | This research aims to design the planning system for yoghurt production. The purpose is to reduce time for production planning that has to support the complex constraints of production. The complex constraints of production are production capacity in each processing, sharing equipment in the different product and cleaning requirement of each machine. Currently, it found that production planner takes a long time in order to create and adjust the plan due to considering the complex constraints of production. Nevertheless, the production planner is not able to consider the constraints of production completely and correctly. The problems of this current planning procedure are 1) Risk of delivery product to customer has delay because filling machine is waiting for yoghurt to be filled and 2) Storage time is longer than standard time defined by company that affects product’s quality. It is possible to be sourer than standard level and also has risk of separation in yoghurt’s texture during storage time. The analysis of the current planning procedure found that the principle of forward scheduling is not suitable for the yoghurt manufacturing due to the constraint of storage time before filling. Also, planning procedure by manual with a staff causes long planning time and possibility for lack of skillful staff. This research proposes the improvement for production planning procedure by applying the principle of EDD and backward scheduling. This research applies VBA in Microsoft Excel for managing the constraints of production, reducing the time for making production plan, and also reducing the time for adjusting during a week. The result shows that by using new proposed methodology, it can reduce the planning period of time to 90%, eliminate waiting period at filling machine, and storage time before filling yoghurt align with standard. The proposed method can also handle time for the cleaning process of each machine completely which is one of the key requirements in food industry. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2015.1348 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | การวางแผนการผลิต | - |
dc.subject | นมเปรี้ยว | - |
dc.subject | Production planning | - |
dc.subject | Yogurt | - |
dc.title | การออกแบบระบบการวางแผนการผลิตโยเกิร์ต | en_US |
dc.title.alternative | Design of a production planning system in yoghurt manufacturing. | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | วิศวกรรมอุตสาหการ | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | Paveena.C@Chula.ac.th,cpaveena@gmail.com | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2015.1348 | - |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
5670983321.pdf | 4.47 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.