Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/51037
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorRatsiri Thatoen_US
dc.contributor.authorZamna Idyanen_US
dc.contributor.otherChulalongkorn University. Faculty of Nursingen_US
dc.date.accessioned2016-12-02T02:09:24Z
dc.date.available2016-12-02T02:09:24Z
dc.date.issued2015en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/51037
dc.descriptionThesis (M.N.S.)--Chulalongkorn University, 2015en_US
dc.description.abstractThe objectives of this study were: 1) to investigate Coronary Artery Disease (CAD) preventive behaviors among adults in Aceh province, Indonesia; 2) to examine the correlation between age, gender, religious attendance, religious salience, perceived susceptibility, perceived severity, perceived benefits, perceived barriers, self-efficacy and CAD preventive behaviors; 3) to identify predictors of CAD preventive behaviors among adults in Aceh province from gender, age, religious attendance, religious salience, perceived susceptibility, perceived severity, perceived benefits, perceived barrier, and self-efficacy. This descriptive predictive study was conducted at two secondary hospitals and one community hospital from three districts in Aceh Province, Indonesia. A total of 178 adults aged 20 to 59 years were recruited with convenience sampling. CAD preventive behaviors questionnaire, religious attendance questionnaire, The Intrinsic Spirituality Scale, the Health Beliefs related to cardiovascular scale, the Self Efficacy Questionnaire on Health Behavior were used to collect the data. Descriptive statistics, Pearson’s r correlation, Eta coefficient and Stepwise multiple regression were used to analyze the data. The results revealed that: 1. CAD preventive behaviors in Aceh was at average level ( = 8.80, SD = 2.516). 2. Age, gender, religious attendance, religious salience, perceived susceptibility, perceived severity, perceived benefits, and self-efficacy were positively and significantly correlated with CAD preventive behaviors (r = .278, η = .252, r = .838, r = .602, r = .519, r = .244, r = .405, and r = .285, respectively). Perceived barriers was negatively and significantly correlated with CAD preventive behaviors (r = -.297). 3. The significant predictors of CAD preventive behaviors were religious attendance, gender, perceived benefits, religious salience and self-efficacy. They accounted for 79.7% of the variance (R2 change = .797, F = 5.768, p = < .05).en_US
dc.description.abstractalternativeการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาพฤติกรรมการป้องกันการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจในประชากรผู้ใหญ่ในจังหวัดอาเจะ ประเทศอินโดนีเซีย 2) เพื่อทดสอบความสัมพันธ์ระหว่าง อายุ เพศ ความสนใจในศาสนา ความสำคัญของศาสนา การรับรู้ความอ่อนแอในจิตใจ การรับรู้ความรุนแรง การรับรู้ประโยชน์ การรับรู้อุปสรรค สมรรถนะแห่งตนและพฤติกรรมการป้องกันการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจ 3) เพื่อศึกษาปัจจัยทำนายพฤติกรรมการป้องกันการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจในประชากรผู้ใหญ่ในจังหวังอาเจะ ประเทศอินโดนีเซีย ได้แก่ อายุ เพศ ความสนใจในศาสนา ความสำคัญของศาสนา การรับรู้ความอ่อนแอในจิตใจ ความสำคัญของศาสนา การรับรู้ความอ่อนแอในจิตใจ การรับรู้ความรุนแรง การรับรู้ประโยชน์ การรับรู้อุปสรรค และสมรรถนะแห่งตน การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาความสัมพันธ์เชิงทำนาย โดยเก็บข้อมูลในโรงพยาบาลระดับทุติยภูมิ 2 แห่งและโรงพยาบาลระดับชุมชน 1 แห่ง ใน 3 ตำบลของจังหวัดอาเจะ ประเทศอินโดนีเซีย กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษา เป็นประชากรวัยผู้ใหญ่ อายุ 20-59 ปี จำนวน 178 คน การคัดเลือดกลุ่มตัวอย่างโดยวิธี เลือกกลุ่มตัวอย่างตามสะดวก เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามพฤติกรรมการป้องกันการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจ แบบสอบถามความสนใจในศาสนา แบบวัดจิตวิญญาณแท้จริง ความเชื่อด้านสุขภาพเกี่ยวกับโรคหัวใจและหลอดเลือด แบบสอบถามสมรรถนะแห่งตนต่อพฤติกรรมสุขภาพ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยาย สถิติสหสัมพันธ์เพียร์สัน สถิติสัมประสิทธิอีตา และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการศึกษา 1. พฤติกรรมการป้องกันโรคหลอดเลือดหัวใจในประชากรผู้ใหญ่ในจังหวัดอาเจะประเทศอินโดนีเซีย มีค่าเฉลี่ย ( = 8.80, SD = 2.516) 2. อายุ เพศ ความสนใจในศาสนา ความสำคัญของศาสนา การรับรู้ความอ่อนแอในจิตใจ การรับรู้ความรุนแรง การรับรู้ประโยชน์ และสมรรถนะแห่งตนมีความสัมพันธ์ทางบวก กับพฤติกรรมการป้องกันการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจอย่างมีนัยยะสำคัญทางสถิติ (r = .278, η = .252, r = .838, r = .602, r = .519, r = .244, r = .405, และ r = .285) การรับรู้อุปสรรคมีความสัมพันธ์ทางลบต่อพฤติกรรมการป้องกันการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจอย่างมีนัยยะสำคัญทางสถิติ (r = -.297) 3. ปัจจัยทำนายพฤติกรรมการป้องกันการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจในประชากรผู้ใหญ่ ในจังหวัดอาเจะ ได้แก่ ความสนใจในศาสนา เพศ การรับรู้ประโยชน์ ความสำคัญของศาสนา และสมรรถนะแห่งตน สามารถร่วมกันทำนายพฤติกรรมการป้องกันการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจในประชากรผู้ใหญ่ในจังหวัดอาเจะ ได้ร้อยละ79.7 (R2 change = .797, F = 5.768, p = < .05)en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChulalongkorn Universityen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2015.298-
dc.rightsChulalongkorn Universityen_US
dc.subjectYoung adults -- Indonesia
dc.subjectHealth behavior
dc.subjectCoronary heart disease
dc.subjectผู้ใหญ่ -- อินโดนีเซีย
dc.subjectพฤติกรรมสุขภาพ
dc.subjectหลอดเลือดโคโรนารีย์ -- โรค
dc.titleFactors predicting preventive behaviors for coronary artery disease among adult patients in Aceh Province, Indonesiaen_US
dc.title.alternativeปัจจัยทำนายพฤติกรรมการป้องกันโรคหลอดเลือดหัวใจของวัยผู้ใหญ่ในจังหวัดอาเจะ ประเทศอินโดนีเซียen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameMaster of Nursing Scienceen_US
dc.degree.levelMaster's Degreeen_US
dc.degree.disciplineNursing Scienceen_US
dc.degree.grantorChulalongkorn Universityen_US
dc.email.advisorRatsiri.T@chula.ac.th,ratsiri99@gmail.comen_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2015.298-
Appears in Collections:Nurse - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5777164036.pdf4.2 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.