Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/51075
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปริณดา ลิมปานนท์ พรหมรัตน์en_US
dc.contributor.advisorพร้อมพงศ์ เพียรพินิจธรรมen_US
dc.contributor.authorณัฐพล สีจาดen_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2016-12-02T02:10:12Z
dc.date.available2016-12-02T02:10:12Z
dc.date.issued2558en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/51075
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2558en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลองขั้นต้น มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาระดับความสามารถ ในการแก้ปัญหาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 หลังเรียนด้วยวิธีสืบสอบร่วมกับการเรียนรู้เป็นทีม 2) เพื่อศึกษาเจตคติต่อการทำงานกลุ่มของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 หลังเรียนด้วยวิธีสืบสอบร่วมกับ การเรียนรู้เป็นทีม กลุ่มตัวอย่างคือ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนสังกัดสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษาเขต 2 กรุงเทพมหานคร ที่ศึกษาในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559 จำนวน 1 ห้องเรียน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบวัดความสามารถในการแก้ปัญหาทางเคมีและแบบวัดเจตคติต่อ การทำงานกลุ่ม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ 1) สถิติเชิงบรรยายได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าเฉลี่ยร้อยละ และส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน และ 2) สถิติเชิงสรุปอ้างอิงได้แก่ สถิติทดสอบที (one sample t-test) ผลการวิจัยพบว่า 1) นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละความสามารถในการแก้ปัญหาทางเคมี หลังเรียนเท่ากับ 63.23 จัดอยู่ในระดับความสามารถดีและสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 โดยนักเรียนมีความสามารถในการแก้ปัญหาเชิงขั้นตอนสูงที่สุด รองลงมาคือความสามารถใน การแก้ปัญหาเชิงมโนทัศน์และปัญหาบูรณาการ โดยมีคะแนนเฉลี่ยร้อยละเท่ากับ 76.32 60.78 และ 56.35 ตามลำดับ 2) นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 มีคะแนนเฉลี่ยเจตคติต่อการทำงานกลุ่มหลังเรียนด้วยวิธีสืบสอบ ร่วมกับการเรียนรู้เป็นทีมเท่ากับ 3.71 จัดอยู่ในระดับเจตคติต่อการทำงานกลุ่มที่ดีและสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนด อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยมีคะแนนเฉลี่ยขององค์ประกอบด้านพุทธิพิสัย ด้านจิตพิสัย และ ด้านพฤติกรรมเท่ากับ 3.96 3.71 และ 3.46 ตามลำดับ โดยนักเรียนเห็นด้วยที่สุดว่า การช่วยเหลือกันเป็น สิ่งจำเป็นในการทำงานร่วมกันมีคะแนนเฉลี่ย เท่ากับ 4.47 รองลงมาคือ การยอมรับความคิดเห็นของสมาชิก คนอื่นเป็นสิ่งที่ควรทำเท่ากับ 4.44 อย่างไรก็ตามนักเรียนยังคิดว่าเป็นการยากที่จะให้สมาชิก คนอื่นยอมรับ ความคิดเห็นของตนเอง มีคะแนนเท่ากับ 2.56en_US
dc.description.abstractalternativeThis study was pre-experimental research. The purposes of this study were: 1) to study problem solving ability of grade 11 students learning by the inquiry method with team-based learning; and 2) to study attitudes toward group work of grade 11 students learning by the inquiry method with team-based learning. The participants were grade 11 students at a high school of the secondary educational area office 2 during the first semester of academic year 2016. The research instruments were chemistry problem solving ability test and attitudes toward group work test. The collected data was analyzed by using 1) descriptive statistics that was mean, average percentage and standard deviation (S.D.) and 2) inferential statisics that was statistical t-test (one sample t-test) The results showed that 1) the mean score in chemistry problem solving ability after learning was 63.23 percent which was higher than a significance level of .05. That is, the students had good chemistry problem solving ability. Algorithmic problems received the highest mean score of 76.32, followed by conceptual problems (60.78) and integrated problems (56.35) respectively. 2) It was found that the mean score in attitudes toward group work after learning was 3.71 which was higher than a significance level of .05. That is, the students had good attitudes toward group work. The mean scores of the cognitive and affective component were 3.96 and 3.71 respectively. The students had the highest mean score in attitudes toward group work in the aspect of helping each other is necessary for every member to work together (4.47) and listen to the opinions of others is what should do (4.44) respectively. However, the students admitted that it was difficult for them to convince other members to agree with their own reasons (2.56).en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2015.1195-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการเรียนรู้เป็นทีม
dc.subjectการทำงานกลุ่มในการศึกษา
dc.subjectเคมี -- การศึกษาและการสอน
dc.subjectTeam learning approach in education
dc.subjectGroup work in education
dc.subjectChemistry -- Study and teaching
dc.titleผลของวิธีสืบสอบร่วมกับการเรียนรู้เป็นทีมที่มีต่อความสามารถในการแก้ปัญหาทางเคมีและเจตคติต่อการทำงานกลุ่มของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5en_US
dc.title.alternativeEffects of inquiry method with team-based learning to chemistry problem solving ability and attitudes toward group work of eleventh grade studentsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการศึกษาวิทยาศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorParinda.Li@chula.ac.th,Parinda.L@chula.ac.th,parinda.l@chula.ac.then_US
dc.email.advisorprompong.p@chula.ac.then_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2015.1195-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5783437327.pdf3.72 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.