Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/51098
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนภวรรณ ตันติเวชกุลen_US
dc.contributor.authorเสาวภา พิณเขียวen_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2016-12-02T02:10:40Z-
dc.date.available2016-12-02T02:10:40Z-
dc.date.issued2558en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/51098-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2558en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) วิเคราะห์การสื่อสารความเป็นตราสินค้าระดับโลกของตราสินค้าระดับโลก และตราสินค้าท้องถิ่นโดยการใช้วิธีวิจัยเชิงคุณภาพ ด้วยการวิเคราะห์การสื่อสารความเป็นระดับโลกจากภาพยนตร์โฆษณาของตราสินค้าที่ใช้เป็นกรณีวิจัย และ (2) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ความเป็นตราสินค้าระดับโลก การรับรู้คุณภาพตราสินค้า และความตั้งใจซื้อของผู้บริโภค โดยใช้วิธีวิจัยเชิงปริมาณ มีแบบสอบถามเป็นเครื่องมือเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างเพศชายและหญิง อายุ 20-55 ปี จำนวน 400 คน ประเภทสินค้าที่เลือกใช้ในงานวิจัยเป็นสินค้าคงทน ได้แก่ โทรศัพท์มือถือ และสินค้าไม่คงทน ได้แก่ น้ำอัดลม ซึ่งสินค้าทั้ง 2 ประเภทมีตราสินค้าระดับโลกและตราสินค้าสินค้าท้องถิ่นวางจำหน่ายในประเทศไทย โดยตราสินค้าของโทรศัพท์มือถือได้แก่ ไอโฟน และ ไอ-โมบาย ส่วนในตราสินค้าน้ำอัดลมได้แก่ โคคา-โคลา และ เอส ผลการวิจัยพบว่า ตราสินค้าระดับโลก และตราสินค้าท้องถิ่น ทั้ง 4 ตราสินค้าใช้วิธีสื่อสารความเป็นตราสินค้าระดับโลกผ่าน 3 ปัจจัย ได้แก่ (1) ปัจจัยด้านถ้อยคำ ด้วยการใช้ชื่อตราสินค้า และการใช้สโลแกนในการโฆษณา (2) ปัจจัยด้านสุนทรียะ ด้วยการใช้ผู้นำเสนอตราสินค้า และการใช้สัญลักษณ์ตราสินค้า และ (3) ปัจจัยด้านแก่นเรื่อง สำหรับผลการศึกษาในส่วนการวิจัยเชิงปริมาณ พบว่า ผู้บริโภคมีการรับรู้ความเป็นตราสินค้าระดับโลก การรับรู้คุณภาพตราสินค้า และความตั้งใจซื้อตราสินค้าในแต่ละประเภทแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ นอกจากนี้ยังพบว่าการรับรู้ความเป็นตราสินค้าระดับโลกมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับการรับรู้คุณภาพตราสินค้า การรับรู้ความเป็นตราสินค้าระดับโลกมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับความตั้งใจซื้อของผู้บริโภค และการรับรู้คุณภาพตราสินค้ามีความสัมพันธ์เชิงบวกกับความตั้งใจซื้ออย่างมีนัยสำคัญทางสถิติen_US
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research are (1) to study the brand globalness communicated by global and local brand advertisements and (2) to test the relationship between perceived brand globalness, perceived brand quality and consumer purchase intention. This study is divided into two parts. In the first part, qualitative research method including documentary study and advertising analysis is used to study the brands’ communication of their globalness. The second part is a quantitative research which questionnaires are used to collect data from 400 respondents aged 20-55 years in Bangkok Metropolitan area. SPSS program is used for data processing. The result of the research shows that the communication of brand globalness can be found in 3 dimensions: (1) verbal dimension through brand name and slogan , (2) aesthetic dimension through spokesperson and brand logo and (3) thematic dimension through advertising theme. The result from quantitative research indicates that perceived brand globalness positively correlated with the perceived brand quality and perceived brand globalness positively correlated with consumer purchase intention. Furthermore the perceived brand quality positively correlated with consumer purchase intention as well.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ความเป็นตราสินค้าระดับโลก การรับรู้คุณภาพตราสินค้า และความตั้งใจซื้อของผู้บริโภคen_US
dc.title.alternativeRELATIONSHIP BETWEEN PERCEIVED BRAND GLOBALNESS, PERCEIVED BRAND QUALITY, AND CONSUMER PURCHASING INTENTIONen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineนิเทศศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorNapawan.T@Chula.ac.th,Napawan.t@chula.ac.then_US
Appears in Collections:Comm - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5784686428.pdf5.17 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.