Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/51308
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สกลรัชต์ แก้วดี | en_US |
dc.contributor.author | สุทธิชาติ เปรมกมล | en_US |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์ | en_US |
dc.date.accessioned | 2016-12-02T06:04:28Z | |
dc.date.available | 2016-12-02T06:04:28Z | |
dc.date.issued | 2558 | en_US |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/51308 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2558 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง มุ่งศึกษาผลของการใช้การสืบสอบเน้นแบบจำลองเป็นฐานที่มีต่อความสามารถในการสร้างคำอธิบายเชิงวิทยาศาสตร์และการให้เหตุผลของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น กลุ่มตัวอย่างคือนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษ ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559 จำนวน 72 คน คือ กลุ่มทดลองเรียนด้วยการสืบสอบเน้นแบบจำลองเป็นฐาน จำนวน 36 คน และกลุ่มเปรียบเทียบเรียนด้วยวิธีจัดการเรียนการสอนแบบทั่วไป จำนวน 36 คน มีการเก็บรวบรวมข้อมูลก่อนเรียนด้วยแบบวัดความสามารถในการให้เหตุผล และหลังเรียนด้วยแบบวัดความสามารถในการสร้างคำอธิบายเชิงวิทยาศาสตร์และแบบวัดความสามารถในการให้เหตุผล วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบสมมติฐานด้วยสถิติทดสอบ ANCOVA ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1) นักเรียนที่เรียนด้วยการสืบสอบเน้นแบบจำลองเป็นฐานมีคะแนนเฉลี่ยความสามารถในการสร้างคำอธิบายเชิงวิทยาศาสตร์เท่ากับ 18.55 จากคะแนนเต็ม 24 คะแนน จัดอยู่ในเกณฑ์ระดับดีมาก 2) นักเรียนที่เรียนด้วยการสืบสอบเน้นแบบจำลองเป็นฐานมีค่าเฉลี่ยของคะแนนความสามารถในการสร้างคำอธิบายเชิงวิทยาศาสตร์สูงกว่านักเรียนที่เรียนด้วยวิธีจัดการเรียนการสอนแบบทั่วไปอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 3) นักเรียนที่เรียนด้วยการสืบสอบเน้นแบบจำลองเป็นฐานมีค่าเฉลี่ยของคะแนนความสามารถในการให้เหตุผลหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 4) นักเรียนที่เรียนด้วยการสืบสอบเน้นแบบจำลองเป็นฐานมีค่าเฉลี่ยของคะแนนความสามารถในการให้เหตุผลสูงกว่านักเรียนที่เรียนด้วยวิธีจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์แบบทั่วไปอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 | en_US |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this quasi-experimental research was to investigate the effects of model-based inquiry on ability in making scientific explanation and reasoning ability of lower secondary school students. The sample of 72 ninth-grade students from an extra-large school in Bangkok were composed of two groups, experimental group and comparison group. Thirty-six students in the experimental group learned through model-based inquiry and 36 students in compared group learned through conventional method. The data collecting by a two set of test on ability in making scientific explanation and on reasoning ability. The data were analyzed by using mean, standard deviation, and ACOVA test. The research findings were summarized as follow: 1) The mean scores of the experimental group on ability in making scientific explanation was 18.55 and at a very good level. 2) The mean scores of experimental group on ability in making scientific explanation was higher than comparison group at a significant level of 0.05. 3) The mean scores of experimental group on reasoning ability post-test was higher than pre-test at a significant level of 0.05. 4) The mean scores of experimental group on reasoning ability was higher than comparison group at a significant level of 0.05. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2015.1211 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | วิทยาศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา) | |
dc.subject | การเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ | |
dc.subject | Science -- Study and teaching (Secondary) | |
dc.subject | Inquiry-based learning | |
dc.title | ผลของการใช้การสืบสอบเน้นแบบจำลองเป็นฐานที่มีต่อความสามารถในการสร้างคำอธิบายเชิงวิทยาศาสตร์และการให้เหตุผลของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น | en_US |
dc.title.alternative | Effects of model-based inquiry on ability in making scientific explanation and reasoning of lower secondary school students | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ครุศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | การศึกษาวิทยาศาสตร์ | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | Watcharaporn.K@Chula.ac.th,Sakolrat.K@chula.ac.th,watcharapornkwd@gmail.com,Sakolrat.K@chula.ac.th | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2015.1211 | - |
Appears in Collections: | Edu - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
5683403927.pdf | 2.91 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.