Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/51385
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพนม คลี่ฉายาen_US
dc.contributor.authorวิภาดา ผลสว่างen_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2016-12-02T06:05:45Z-
dc.date.available2016-12-02T06:05:45Z-
dc.date.issued2558en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/51385-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2558en_US
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่ออธิบายผลของรูปแบบการนำเสนอเกี่ยวกับคุณประโยชน์ของส่วนผสมผลิตภัณฑ์ความงามในภาพยนตร์โฆษณาทางโทรทัศน์ที่มีต่อความน่าเชื่อถือต่อตราสินค้า และความตั้งใจซื้อของผู้ชม ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงทดลอง แบบวัดผลก่อน – หลัง โดยดำเนินการวิจัยกับกลุ่มตัวอย่างนักศึกษาระดับปริญญาตรี เพศหญิง อายุ 20 - 24 ปี โดยแบ่งเป็น 3 กลุ่ม กลุ่มละ 40 คน รวม 120 คน แต่ละกลุ่มจะได้รับชมภาพยนตร์โฆษณาครีมบำรุงผิวที่มีรูปแบบการนำเสนอที่แตกต่างกัน คือ 1) การนำเสนอรูปแบบกราฟิกเพียงอย่างเดียว 2) การนำเสนอรูปแบบภาพผู้แสดงเพียงอย่างเดียว และ 3) การนำเสนอรูปแบบกราฟิกร่วมกับภาพผู้แสดง ผลจากการวิจัยพบว่า การนำเสนอเกี่ยวกับคุณประโยชน์ของส่วนผสมผลิตภัณฑ์ความงามในภาพยนตร์โฆษณาทางโทรทัศน์ทั้ง 3 รูปแบบ คือ รูปแบบกราฟิกเพียงอย่างเดียว รูปแบบภาพผู้แสดงเพียงอย่างเดียว และรูปแบบกราฟิกร่วมกับภาพผู้แสดง ส่งผลต่อความน่าเชื่อถือต่อตราสินค้า และความตั้งใจซื้อผลิตภัณฑ์ของผู้รับชม โดยภาพยนตร์โฆษณาผลิตภัณฑ์ความงามที่ใช้การนำเสนอรูปแบบกราฟิกร่วมกับภาพผู้แสดงส่งผลต่อความน่าเชื่อถือต่อตราสินค้า และความตั้งใจซื้อผลิตภัณฑ์มากที่สุด รองลงมาคือรูปแบบภาพผู้แสดงเพียงอย่างเดียว และรูปแบบกราฟิกเพียงอย่างเดียวen_US
dc.description.abstractalternativeThe research objective was to explain effect of presentation formats in beauty product’s television commercial on audience’ brand trust and purchase intention. The research employed experimental pretest-posttest design method. The experimental groups were female, age 20-24 and undergraduate students. The experiment was set into 3 groups, each group contain 40 people, assigned different 3 treatment: 1) graphic only presentation format, 2) presenter only presentation format, and 3) graphic and presenter presentation format. The results show that all 3 presentation format effect audience’ brand trust and purchase intention. In addition the effect of graphic and presenter presentation format is more effective than presenter only presentation format and graphic only presentation format.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.titleผลของรูปแบบการนำเสนอในภาพยนตร์โฆษณาผลิตภัณฑ์ความงามที่มีต่อความน่าเชื่อถือ และการตัดสินใจซื้อของผู้ชมen_US
dc.title.alternativeEFFECT OF PRESENTATION FORMATS IN BEAUTY PRODUCT’S TELEVISION COMMERCIAL ON AUDIENCES’ BRAND TRUST AND PURCHASE INTENTIONen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineนิเทศศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorPhnom.K@Chula.ac.th,Phnom.K@chula.ac.then_US
Appears in Collections:Comm - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5784677828.pdf3.53 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.