Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/51522
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorตระกล เมฆญารัชชนานนท์-
dc.contributor.authorสมเกียรติ อิ่มพลี-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะทันตแพทยศาสตร์-
dc.date.accessioned2017-01-23T06:41:06Z-
dc.date.available2017-01-23T06:41:06Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.isbn9741425547-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/51522-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549en_US
dc.description.abstractการพัฒนาระบบครอบฟันโลหะเคลือบพอร์ซเลนมีความก้าวหน้าขึ้นเพื่อตอบสนองความต้องการของผู้ป่วยทั้งด้านความสวยงามและความคงทนในการใช้งาน ดังนั้นจึงมีการออกแบบด้านสบฟันของครอบฟันรากเทียมเป็นพอร์ซเลนทั้งหมดในบางกรณี แต่ปัญหาที่ตามาคือ พบว่ามีการแตกของเพอร์ซเลนบริเวณสันริมฟันซึ่งอาจจะมีความสัมพันธ์กับการออกแบบโครงโลหะที่รองรับริเวณประชิดฟัน การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเปรียบเทียบความต้านทานต่อการแตกหักของครอบฟันโลหะเคลือบพอร์ซเลนบนรากเทียมซึ่งกำหนดให้มีขนาดเทากับฟันหลังบนที่มีความสูง 7.5 ม.ม.และมีการออกแบบส่วนโลหะรองรับพอร์ซเลนด้านประชิดฟันที่แตกต่างกัน 4 แบบ คือ ชนิดที่ไม่มีส่วนโลหะรองรับพอร์ซเลนด้านประชิดฟันมีเพียงแถบโลหะ0.5 ม.ม. และชนิดที่มีส่วนโลหะรองรับพอร์ซเลนด้านประชิดฟันสูง 2.5, 4 และ 5.5 ม.ม. ซึ่งจะมีพอร์ซเลนหนาในแต่ละกลุ่มเป็น 7 ม.ม., 5 ม.ม., 3.5 ม.ม. และ 2 ม.ม. ตามลำดับ และถูกกำหนดให้เป็นกลุ่ม 1, 2, 3 และ 4 ตามลำดับ โดยในการศึกษานี้ใช้ฟันหลักยึกรากเทียมระบบรีเพลส ชนิดอีซี่ ขนาด 6 ม.ม. เป็นต้นแบบในการสร้างแบบจำลองทดสอบซึ่งมีสัมผัสประชิดฟันข้างเคียงจำลองขณะสร้างครอบฟันแต่จะถอดสัมผัสประชิดออกขณะทดสอบให้แรง ครอบฟันจะถูกสร้างขึ้นในแลปทันตกรรมด้วยวิธีการเดียวกับที่ใช้คลินิก แบ่งเป็น 4 กลุ่มดังกล่าว กลุ่มละ 10 ชิ้น ทำการจึดกับแบบจำลองทดสอบด้วยซิงค์ฟอสเฟสซีเมนต์ ภายหลังทดสอบความต้านทานต่อการแตกหักได้ค่าเฉลี่ยดังนี้ (X±SD) กลุ่มที่ 1 มีค่า 957.33±134.15 นิวตัน กลุ่มที่ 2 มีค่า 1035.05±95.19 นิวตัน กลุ่มที่ 3มีค่า 1450.734±90.47 นิวตัน และกลุ่มที่ 4 มีค่า 1586.18±134.15 นิวตัน เมื่อนำข้อมูลไปวิเคราะห์ โดยใช้สถิติวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทิศทางเดียว และการทดสอบแบบเชฟเฟ สรุปได้ดังนี้ กลุ่มที่ 1 และ 2 มีค่าความต้านทานการแตกหักของดอร์ซเลน ต่ำกว่ากลุ่มที่ และ 4 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ในขณะที่ เมื่อเทียบกลุ่มที่ 1 กับ 2 และ กลุ่มที่ 3 และ 4 พบว่าค่าความต้านทานการแตกหักของพอร์ซเลนแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติen_US
dc.description.abstractalternativeThe porcelain-fused-to-metal restorative systems for implant treatment have been continuously developed for responding the esthetic and strength purposes. Complete occlusal porcelain coverage design was occasionally required. Unfortunatly, the porcelain fracture on the marginal ridge may be found relating to the proximal design of metal substructure The purpose of this study was to compare the porcelain fracture resistance between 0.5 m.m. metal interproximal collar design and 2.5, 4.0 and 5.5 m.m. height metal interproximal strut design (7.0, 5.0, 3.5 and 2 m.m. height porcelain respectively) of cement-retained implant-supported metal-ceramic crowns (Group 1, 2, 3 and 4 respectively). Duplicated 40 crowns (10 crowns/group) fabricated on a Replace Easy implant abutment model. Ni-Cr alloy (Noritake EX-3) was used to fabricated substructure and followed with porcelain application (Super porcelain EX-3) according to their manufacturer recommendations. The crowns were then cemented on the Replace Easy implant abutment model under a constant load 5 kg. Zinc phosphate cement was used. Specimens were loaded on a universal testing machine in a compression mode (cross head speed of 1 mm./min) without proximal contact. ANOVA and Scheffe's statistical analysis (P<0.05) were performed a data. Mean failure loads (S±SD ,N) was 957.33±134.15N, 1035.03+-95.19 N, 1450.734±90.47 N and 1586.18±134.15 N for Groups 1, 2, 3 and 4 respectively. Groups 1 and 2 required a significantly lower force to fracture the crowns compare with Groups 3 and 4 Comparing Group 1 with 2 and Group 3 and 4, no significant differences was noted.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2006.1266-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectพอร์ซเลนทางทันตกรรมen_US
dc.subjectทันตกรรมรากเทียมen_US
dc.subjectDental ceramicsen_US
dc.subjectDental implantsen_US
dc.titleความต้านทานการแตกหักของพอร์ซเลนของครอบฟันรากเทียมที่มีความสูงของส่วนโลหะรองรับด้านประชิดฟันต่างกันen_US
dc.title.alternativeThe porcelain fracture resistance of ceramic-metal implant crowns with varying height of metal interproximal struten_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineทันตกรรมประดิษฐ์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2006.1266-
Appears in Collections:Dent - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
somkeat_im_front.pdf308.22 kBAdobe PDFView/Open
somkeat_im_ch1.pdf207.53 kBAdobe PDFView/Open
somkeat_im_ch2.pdf918.51 kBAdobe PDFView/Open
somkeat_im_ch3.pdf937.17 kBAdobe PDFView/Open
somkeat_im_ch4.pdf359.1 kBAdobe PDFView/Open
somkeat_im_ch5.pdf222.02 kBAdobe PDFView/Open
somkeat_im_ch6.pdf152.77 kBAdobe PDFView/Open
somkeat_im_back.pdf538.72 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.