Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/51749
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชวาล คูร์พิพัฒน์-
dc.contributor.authorศรีนาถ ริมเจริญ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2017-02-10T08:44:39Z-
dc.date.available2017-02-10T08:44:39Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/51749-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556en_US
dc.description.abstractในปัจจุบันเทคโนโลยีภาพสเตอริโอสโกปิก กำลังเป็นที่แพร่หลายและรู้จักมากขึ้นใน ท้องตลาด เนื่องจากเทคโนโลยีนี้ตอบสนองภาพที่สมจริงและความบันเทิงในการรับชม อย่างไรก็ ตามมนุษย์มีความสามารถในการรับรู้ระดับความลึกของภาพสามมิติและแยกแยะระดับความลึก (3D depth perception) ได้แตกต่างกัน ซึ่งส่งผลกับขอบเขตความพึงพอใจในการมองภาพของมนุษย์เป้าหมายของงานวิจัยนี้ เพื่อทราบขอบเขตการรับรู้ระดับความลึกภาพสเตอริโอสโกปิกบนจอภาพสามมิติแบบชัตเตอร์ จากความแตกต่างของระยะวัตถุในระนาบต่างกัน โดยทดสอบด้วยภาพสามมิติ ที่มีระดับความลึกต่าง ๆ กัน ที่สร้างขึ้นจากโปรแกรมกราฟฟิกสามมิติ ข้อมูลการทดลองจากผู้สังเกต 15 คนถูกวิเคราะห์ทางสถิติและพบว่าระยะการรับรู้ระดับความลึกของผู้สังเกตที่สามารถแยกแยะ ความแตกต่างได้มีระยะห่างวัตถุอยู่ที่ 2.25 เซนติเมตร และผลของค่ารูรับแสงกับตำ แหน่งโฟกัสวัตถุ ของภาพที่เปลี่ยนไปส่งผลต่อการรับรู้ระดับความลึกภาพสามมิติ สาหรับถ่ายภาพจริงสามมิติผลการประเมินความพึงพอใจภาพโดยผู้สังเกตนั้นที่ตำ แหน่งโฟกัสวัตถุระยะใกล้ ผลของความพึงพอใจ ภาพมีความใกล้เคียงกันเมื่อเปลี่ยนค่ารูรับแสง ส่วนที่ตำ แหน่งโฟกัสวัตถุระยะกลางและไกล ผลของ ความพึงพอใจภาพสามมิติมากที่สุดที่ค่ารูรับแสง f/8 และ f/11 ตามลำดับ ซึ่งผลจากงานวิจัยนี้ สามารถนำไปเป็นประโยชน์ในการถ่ายภาพและสร้างภาพยนตร์สามมิติให้มีคุณภาพในส่วนของการรับรู้ที่ดียิ่งขึ้นได้en_US
dc.description.abstractalternativeRecently, stereoscopic image technologies are well-applied in the market. They fulfill the needs of audiences for entertainment and realistic image. However, different people have different depth perception which affects human vision’s satisfaction. Therefore, the objective of this thesis is to subjectively evaluate the depth perceived by human on a shutter glass stereoscopic display. In the experiments, various stereoscopic images were created with different depth using 3D rendering software. The depth perception data from 15 observers were statistically analyzed. The results showed that just noticeable difference perception occurs at the distance of 2.25 cm. Moreover, the results also indicated that varying aperture sizes and point of focuses affected 3D depth perception of human. For a near point of focus, observers’ satisfactions were similar when varying aperture sizes. However, there are different with a middle and far point of focus. The highest observers’ satisfactions in this study were obtained when the middle and the far point of focus were f/8 and f/11 respectively. The result from this research may contribute to photographer and movie maker in improving a user’s satisfaction for 3D image depth perception.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2013.1674-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการรับรู้ทางสายตาen_US
dc.subjectภาพสามมิติen_US
dc.subjectVisual perceptionen_US
dc.subjectThree-dimensional illustrationen_US
dc.titleระดับความลึกที่รับรู้ได้ของภาพสเตอริโอสโกปิกบนพื้นฐานของการประเมินเชิงอัตวิสัยen_US
dc.title.alternativePerceived depth level of stereoscopic image based on subjective evaluationen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineเทคโนโลยีทางภาพen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorChawan.K@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2013.1674-
Appears in Collections:Sci - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
srinard_ri.pdf4.29 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.