Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/51763
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอุรา ปานเจริญ-
dc.contributor.authorจุฬาลักษณ์ นาคสังข์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2017-02-11T13:12:49Z-
dc.date.available2017-02-11T13:12:49Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.isbn9741427468-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/51763-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549en_US
dc.description.abstractการสกัดสารปนเปื้อนออกจากตัวชิ้นงานถือเป็นกระบวนการที่มีความสำคัญอย่างมากสำหรับอุตสาหกรรมทางด้านอิเล็กทรอนิกส์ เนื่องจากเป็นผลิตภัณฑ์ที่ต้องการความสะอาดสูง การเลือกใช้สารเคมีที่เหมาะสมจึงถือเป็นปัจจัยสำคัญของกระบวนการในการทำความสะอาดผิวของชิ้นงานเพื่อชะล้างสิ่งสกปรกที่เกิดขึ้นระหว่างกระบวนการผลิต การใช้ตัวละลายอินทรีย์ที่มีอยู่เดิมคือ AK-225 ซึ่งจัดเป็นตัวทำละลายอินทรีย์ประเภทไฮโดรคลอโรฟลูออโรคาร์บอน (Hydrocloroflurocarbon) พบว่าทำให้เกิดปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมเนื่องจากเป็นสารเคมีที่ทำลายชั้นโอโซนในบรรยากาศ จึงมีกฏหมายที่ห้ามมิให้มีการใช้สารเคมีตัวนี้ในอนาคตอันใกล้ ในอุตสาหกรรมการผลิตรวมถึงปัญหาด้านการกำจัดของเสียที่เกิดขึ้น และปัญหาด้านต้นทุนเนื่องจาก AK-225 เป็นสารเคมีที่มีราคาค่อนข้างแพง ดังนั้นการศึกษาคุณสมบัติทางเคมีและทางกายภาพของตัวทำละลายอินทรีย์ 3 ชนิดคือ HC-250, High Clean Al และ Solkane 365 โดยที่ HC0250, High Clean Al จัดเป็นสารจำพวกไฮโดรคาร์บอน ในขณะที่ Solkane 365 เป็นสารจำพวกไฮโดรฟลูออโรคาร์บอน (HFC) เนื่องจากตัวทำละลายอินทรีย์ 3 ชนิดมีราคาถูกกว่าจึงถูกนำมาใช้ทำการทดลองเปรียบเทียบกับตัวทำละลายอินทรีย์ที่มีอยู่เดิมคือ AK-225 เพื่อดูถึงประสิทธิภาพของสกัดสารปนเปื้อนออกจากผิวของชิ้นงานและสามารถลดปัญหาเรืองต้นทุนการผลิต ในการทดลองครั้งนี้เป็นการศึกษาตัวแปรที่มีผลต่อการสกัดสารปนเปื้อนคือ อุณหภูมิที่ค่าต่างๆกันและ อิทธิพลของการใช้คลื่นเหนือเสียง โดยทำการเปรียบเทียบประสิทธิภาพระหว่างกรณีที่มีการใช้คลื่นเหนือเสียง กับกรณีที่ไม่มีการใช้คลื่นเหนือเสียง ซึ่งผลสรุปที่ได้คือ ประสิทธิภาพของการสกัดสารปนเปื้อนแปรผัน โดยตรงกับอุณหภูมิของการใช้งาน แต่ต้องคำนึงถึงเรื่องอุณหภูมิที่ใช้ต้องไม่มากกว่าจุดเดือดของสาร และการสกัดสารปนเปื้อนจะมีประสิทธิภาพมากขึ้นเมื่อมีการใช้คลื่นเหนือเสียงen_US
dc.description.abstractalternativeContaminant extraction on part is the importance process for electronics industry due to extremely cleaning required of these products. The proper selection of chemical reagent usage is the key process for part cleaning. The AS-225 is the current chemical usage and it is hydrochlorofluorocarbon compound which is effect to the environment since it is ozone depleting and it will be against a law in near future including waste treatment problem and also costly due to it’s expensive. A study of chemical and physical property of HC-250 and High Clean Al are hydrocarbon compound and Solkane 365 is hydrofluorocarbon which are lower price were evaluated and compared with AK-225 in term of cleaning effectiveness and cost reduction. The experiment is to study variables affect to th4 extraction are temperatures and ultrasonic with comparing the performance between with ultrasonic and without ultrasonic. The result was indicated that cleaning performance is directly vary to the temperature. But using such temperature must not beyond the boiling point of solvent. And also with using ultrasonic, the cleaning will be more efficiencyen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2006.1049-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectสารตัวทำละลายอินทรีย์en_US
dc.subjectฮาร์ดดิสก์en_US
dc.subjectตลับลูกปืน -- การทำความสะอาดen_US
dc.subjectOrganic solventsen_US
dc.subjectHard disks (Computer science)en_US
dc.subjectBall-bearings -- Cleaningen_US
dc.titleการศึกษาประสิทธิภาพของตัวทำละลายอินทรีย์เพื่อนำมาใช้แทน AK-225 ในขบวนการล้างตลับลูกปืนของฮาร์ดดิสก์ไดรท์en_US
dc.title.alternativeStudy of effective organic solvent to replace AK-225 in ball bearing washing process of harddisk driveen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมเคมีen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorUra.P@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2006.1049-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
chulalak_na_front.pdf1.51 MBAdobe PDFView/Open
chulalak_na_ch1.pdf1.67 MBAdobe PDFView/Open
chulalak_na_ch2.pdf2.23 MBAdobe PDFView/Open
chulalak_na_ch3.pdf1.27 MBAdobe PDFView/Open
chulalak_na_ch4.pdf4.37 MBAdobe PDFView/Open
chulalak_na_ch5.pdf445.71 kBAdobe PDFView/Open
chulalak_na_back.pdf5.9 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.