Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/51774
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พัชนี เชยจรรยา | - |
dc.contributor.author | ปัทมา ลิ่วเลิศมงคล | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2017-02-12T06:05:21Z | - |
dc.date.available | 2017-02-12T06:05:21Z | - |
dc.date.issued | 2549 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/51774 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาวิจัยครั้งนี้ เพื่อศึกษาวิธีออกแบบและการกำหนดประเด็นข่าวสารประชาสัมพันธ์ขององค์กรวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ศึกษาความต้องการและวิธีการนำเสนอข่าวสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของสื่อมวลชน และศึกษาการรับรู้ข่าวสารประชาสัมพันธ์ขององค์กรทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของประชาชน ในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 400 คน โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลการวิเคราะห์ข้อมูล ใช้วิธีหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว ซึ่งประมวลผลโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป SPSS for Window ผลการศึกษาวิธีการออกแบบและกำหนดประเด็นข่าวสารประชาสัมพันธ์ ด้วยวิธีการวิเคราะห์เนื้อหาและการสัมภาษณ์เชิงลึกผู้บริหารและเจ้าหน้าที่ประชาสัมพันธ์ พบว่า องค์กรทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ใช้วิธีการชี้/แสดงให้เห็นผลกระทบที่มีต่อสังคม เลือกข่าวสารที่ตรงกับกระแสความสนใจของสังคม ใช้ภาษาดึงดูดความสนใจ เขียนข่าวให้กระชับ ตรงประเด็น และใช้ข้อมูลอ้างอิงเพิ่มน้ำหนักข่าว ในการออกแบบและกำหนดประเด็นข่าวสาร ผลการในภาษณ์เชิงลึกสื่อมวลชน พบว่า เนื้อหาข่าวสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่ต้องการ ได้แก่ ข่าวที่มีความใหม่ มีประเด็นน่าสนใจ เนื้อหาเป็นเรื่อใกล้ตัวผู้รับสาร เข้าใจง่าย มีผลกระทบในวงกว้าง ทันกระแสกับความสนใจ และเป็นงานวิจัยที่สามารถนำไปประยุกต์ใช้กับภาคอุตสาหกรรม และภาคเกษตรกรรม ผลการวิจัยเชิงสำรวจ พบว่า ประชาชนมีการเปิดรับข่าวสารด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในระดับปานกลาง โดยสื่อที่มีการเปิดรับข่าวสารด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมากที่สุด คือ โทรทัศน์ รองลงมา คือหนังสือพิมพ์ และนิทรรศการ การรับรู้ข่าวสารด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีจากสื่อมวลชนในระดับปานกลาง ส่วนการรับรู้ข่าวสารประชาสัมพันธ์ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีจากองค์กรทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในระดับน้อย ผลจากการทดสอบสมมติฐาน พบว่า 1. ประชาชนที่มีอาชีพแตกต่างกัน มีการเปิดรับข่าวสารด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 2. ประชาชนที่มีอาชีพแตกต่างกัน มีการรับรู้ข่าวสารด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีจากสื่อมวลชนทั่วไปแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 3. ประชาชนทีมีอาชีพแตกต่างกัน มีการรับรู้ข่าวสารประชาสัมพันธ์ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีจากสื่อ/ช่องทางประชาสัมพันธ์ขององค์กรทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 | en_US |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research are : to study the message design in informative news release e.g. press release and photo release by means of content analysis and in-depth interview, to study the reporters’s need on issues and presentation styles, and to survey the media exposure, and perception toward science and technology news. Questionnaires were used for collect data from 400 samples, from people living in Bangkok. Percentage, mean, standard deviation, one-way analysis of variance were used for an analysis of data. SPSS Program was used for data processing. The finding were as follow: the strategies for message design are to point out the consequence of news issues, to select newsworthy topic rely on current trends, to write the news release appealing to audiences, conciseness and pertinent style, and adding statistic or data to enhance news values. Reporters are interested and want the news issue concerning the prominence of science discoveries, strongly influence technologies, applied research for industrial and agricultural sectors and easily to understand news. Media exposure about science and technology news was at the medium level. The most media exposure was television, newspaper and exhibition respectively. The perception of science and technology news from mass media was moderate. The perception of science and technology news from mass media was moderate nevertheless the perception of news releases from science and technology organizations was low. The people different in occupation were different in media exposure, the perception of science and technology news from mass media and the perception of news releases from science and technology organizations | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2006.43 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | การประชาสัมพันธ์ | en_US |
dc.subject | การสื่อข่าวและการเขียนข่าว | en_US |
dc.subject | ข่าววิทยาศาสตร์ | en_US |
dc.subject | วิทยาศาสตร์ในสื่อมวลชน | en_US |
dc.subject | วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี | en_US |
dc.subject | Public relations | en_US |
dc.subject | Reporters and reporting | en_US |
dc.subject | Science news | en_US |
dc.subject | Science in mass media | en_US |
dc.subject | Science and technology | en_US |
dc.title | กลยุทธ์การออกแบบและกำหนดประเด็นข่าวสารประชาสัมพันธ์ขององค์กรทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | en_US |
dc.title.alternative | Strategies for message design in informative news release of science and technology organizations | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | การประชาสัมพันธ์ | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | Patchanee.C@chula.ac.th | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2006.43 | - |
Appears in Collections: | Comm - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
patama_le_front.pdf | 804.15 kB | Adobe PDF | View/Open | |
patama_le_ch1.pdf | 724.5 kB | Adobe PDF | View/Open | |
patama_le_ch2.pdf | 5.42 MB | Adobe PDF | View/Open | |
patama_le_ch3.pdf | 1.03 MB | Adobe PDF | View/Open | |
patama_le_ch4.pdf | 5.42 MB | Adobe PDF | View/Open | |
patama_le_ch5.pdf | 2.48 MB | Adobe PDF | View/Open | |
patama_le_back.pdf | 1.22 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.