Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/51776
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorบุญชัย โสวรรณวณิชกุล-
dc.contributor.advisorโปรดปราน บุณยพุกกณะ-
dc.contributor.authorเพชรรัตน์ บูรพาธนะ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2017-02-12T07:07:07Z-
dc.date.available2017-02-12T07:07:07Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/51776-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549en_US
dc.description.abstractการออกแบบฮาร์ดแวร์ในปัจจุบันมีความยุ่งยากและซับซ้อนมากขึ้น เนื่องจากการพัฒนาเทคโนโลยีที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว นักออกแบบฮาร์ดแวร์จึงควรใช้เวลาไม่มากในการออกแบบ นอกจากนั้น หากเกิดความผิดพลาดในการออกแบบวงจรแม้เพียงเล็กน้อย นักออกแบบจะสูญเสียเวลาในการรื้อและแก้ไขวงจรทั้งหมด จากปัญหาดังกล่าวนี้ มีงานวิจัยหลายงานได้นำเสนอเครื่องมือที่ช่วยนักออกแบบวงจรทางฮาร์ดแวร์ โดยนำแนวความคิดต่าง ๆ ในการออกแบบซอฟต์แวร์มาประยุกต์ใช้ เช่น การประยุกต์ใช้แนวคิดเชิงวัตถุในการออกแบบวงจรตรรกะเชิงผสม ซึ่งพบว่าสามารถช่วยลดเวลาและความซับซ้อนในขั้นตอนการออกแบบวงจรตรรกะเชิงผสมได้ส่วนหนึ่ง และไม่พบว่ามีงานวิจัยใดที่นำแนวคิดเชิงวัตถุมาประยุกต์ใช้กับการออกแบบวงจรตรรกะเชิงลำดับ ดังนั้นงานวิจัยนี้ จึงนำแนวคิดเชิงวัตถุมาประยุกต์ใช้ในการสร้างเครื่องมือออกแบบวงจรตรรกะเชิงลำดับที่ช่วยลดเวลาและแรงงานในการออกแบบวงจรฮาร์ดแวร์ได้ แนวคิดเชิงวัตถุที่นำมาใช้ในการออกแบบเครื่องมือประกอบด้วย แนวคิดการห่อหุ้ม แนวคิดการถ่ายทอด และแนวคิดการนำกลับมาใช้ โดยเครื่องมือออกแบบวงจรตรรกะเชิงลำดับแบบแนวคิดเชิงวัตถุที่ได้ออกแบบและสร้างขึ้นในวิทยานิพนธ์นี้ประกอบด้วย ส่วนออกแบบวงจรแบบกราฟิกซึ่งนำแนวคิดทั้งสามมาใช้ในการออกแบบ เครื่องมือสังเคราะห์วงจร และส่วนเชื่อมต่อกับเครื่องมือจำลองการทำงาน VeriLogger Pro™ 7.3a ผลการออกแบบและสังเคราะห์วงจรพบว่าสามารถสังเคราะห์วงจรได้ถูกต้องตามหลักการสังเคราะห์วงจรของวงจรมาตรฐาน International Symposium on Circuits and Systems 1989 (ISCAS89)en_US
dc.description.abstractalternativeHardware design is a complex task that demands hardware designer to redesign the circuit each time the specification changes. Previous research offered the use of OO reusability, inheritance, and encapsulation to help hardware designers in the process of hardware design, specifically to the combinational logic design. To contribute to this line of work, this research proposes the application of OO reusability, inheritance, and encapsulation to the design of hardware, particularly the sequential logic design, aiming to increase design performance. This proposed tool that combines the concept of reusability, inheritance, and encapsulation, encompasses a hardware design GUI drawing tool, a synthesizer, and a simulator that connects to VeriLogger Pro™ 7.3a. The output from the tool produces the same result as the standard International Symposium on Circuits and Systems 1989en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2006.1052-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectวงจรคอมพิวเตอร์en_US
dc.subjectการโปรแกรมเชิงวัตถุen_US
dc.subjectวิธีเชิงวัตถุ (วิทยาการคอมพิวเตอร์)en_US
dc.subjectการออกแบบเชิงตรรกะen_US
dc.subjectวงจรลอจิกen_US
dc.subjectซอฟต์แวร์ -- การใช้ซ้ำen_US
dc.subjectComputers -- Circuitsen_US
dc.subjectObject-oriented programming (Computer science)en_US
dc.subjectObject-oriented methods (Computer science)en_US
dc.subjectLogic designen_US
dc.subjectLogic circuitsen_US
dc.subjectComputer software -- Reusabilityen_US
dc.titleการพัฒนาเครื่องมือสำหรับออกแบบวงจรตรรกะเชิงลำดับ โดยใช้แนวคิดเชิงวัตถุen_US
dc.title.alternativeDeveloping sequential logic circuit design tool using object-oriented concepten_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมคอมพิวเตอร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorboonchai@cp.eng.chula.ac.th-
dc.email.advisorProadpran.P@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2006.1052-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
petcharat_bu_front.pdf1.4 MBAdobe PDFView/Open
petcharat_bu_ch1.pdf636.37 kBAdobe PDFView/Open
petcharat_bu_ch2.pdf771.52 kBAdobe PDFView/Open
petcharat_bu_ch3.pdf675.94 kBAdobe PDFView/Open
petcharat_bu_ch4.pdf1.95 MBAdobe PDFView/Open
petcharat_bu_ch5.pdf1.01 MBAdobe PDFView/Open
petcharat_bu_ch6.pdf2.42 MBAdobe PDFView/Open
petcharat_bu_ch7.pdf361.53 kBAdobe PDFView/Open
petcharat_bu_ch8.pdf432.69 kBAdobe PDFView/Open
petcharat_bu_back.pdf2.12 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.