Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5177
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนราทิพย์ ชุติวงศ์-
dc.contributor.authorจันทิรา ชื่นจิตต์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะเศรษฐศาสตร์-
dc.date.accessioned2007-12-27T06:47:45Z-
dc.date.available2007-12-27T06:47:45Z-
dc.date.issued2542-
dc.identifier.isbn9743328793-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5177-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาาลัย, 2542en
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงปฏิกิริยาตอบโต้ของบริษัทรับประกันอัคคีภัยและบริษัทรับประกันรถยนต์ในธุรกิจประกันวินาศภัย ในการศึกษาได้แบ่งกลุ่มบริษัทรับประกันภัยทั้งสองประเภทออกเป็น 2 กลุ่มคือ กลุ่มบริษัทที่มีขนาดเล็ก และกลุ่มบริษัทที่มีขนาดใหญ่ ซึ่งในการจำแนกได้ใช้มูลค่าของจำนวนเงินเอาประกันภัยของแต่ละประเภทการประกันภัยเป็นเกณฑ์ในการจำแนก โดยทำการศึกษาเปรียบเทียบปี พ.ศ. 2538 กับปี พ.ศ. 2539 ใช้ข้อมูลจากบริษัทรับประกันอัคคีภัยจำนวน 60 บริษัท และบริษัทรับประกันรถยนต์จำนวน 56 บริษัท ข้อมูลที่ใช้เป็นข้อมูลภาคตัดขวาง และในการศึกษาได้ใช้แบบจำลองทางเศรษฐมิติโดยใช้วิธีกำลังสองน้อยที่สุดแบบธรรมดาเป็นตัวทดสอบแบบจำลอง ผลการทดสอบสรุปได้ว่า สำหรับธุรกิจรับประกันอัคคีภัยซึ่งมีแนวโน้มของโครงสร้างตลาดเป็นแบบผู้ขายน้อยรายนั้นพบว่าไม่มีปฏิกริยาตอบโต้ต่อการเปลี่ยนแปลงจำนวนเงินเอาประกันภัยจากบริษัทคู่แข่งขันทั้งที่อยู่ในกลุ่มเดียวกันและคนละกลุ่มเกิดขึ้น ในทำนองเดียวธุรกิจรับประกันรถยนต์ซึ่งมีโครงสร้างตลาดเป็นแบบผู้ชายน้อยรายอย่างชัดเจนกว่า ก็พบว่าไม่มีปฏิกริยาตอบโต้ต่อการเปลี่ยนแปลงจำนวนเงินเอาประกันภัยจากบริษัทคู่แข่งขันทั้งที่อยู่ในกลุ่มเดียวกันและคนละกลุ่มเช่นเดียวกับธุรกิจรับประกันอัคคีภัยเช่นเดียวกันen
dc.description.abstractalternativeThe objective of this thesis is to analyze the pattern of interdependence between in the fire insurance business and the automobile insurance business. This research is divided into group of small companies and group of large companies, each of which is classified by sum insured of fire insurance and automobile insurance. Cross section data of 60 fire insurance companies and 56 automobile insurance companies in 1995 is used to compare with 1996. Econometric model of general least square method is used for such empirical test. It is found that there is no conjectural variations between firms in the fire insurance business which is proved to be the business in the oligopolistic industry, both within and across each size group, the same result is also found with the automobile insurance business.en
dc.format.extent7695507 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.1999.382-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectประกันวินาศภัย -- การตลาดen
dc.subjectประกันภัยธุรกิจen
dc.subjectโครงสร้างตลาดen
dc.titleการวิเคราะห์ปฏิกิริยาตอบโต้ของธุรกิจประกันวินาศภัยen
dc.title.alternativeConjectural variations analysis in non-life insurance marketen
dc.typeThesises
dc.degree.nameเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineเศรษฐศาสตร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.1999.382-
Appears in Collections:Econ - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
jantira.pdf7.52 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.