Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/51785
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorSutthasinee Poonyachoti-
dc.contributor.advisorSarinee Kalandakanond-Thongsong-
dc.contributor.authorSuwaporn Daendee-
dc.contributor.otherChulalongkorn University. Graduate School-
dc.date.accessioned2017-02-12T12:31:28Z-
dc.date.available2017-02-12T12:31:28Z-
dc.date.issued2006-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/51785-
dc.descriptionThesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2006en_US
dc.description.abstractThe present study aimed to investigate the roles of the endogenous opioid system and its receptors (OR) in the development of sweet food intake in rats exposed to chronic restraint stress. The sweet food intake behavioral paradigm and the measurement of dopaminergic neurotransmitter levels in mesocorticolimbic system of rat treated with or without opioid receptor blockers were assessed. Male adult Wistar rats were divided into two groups: control (CON) and stress (ST) which rat were restrain 1 h/day, for 14 days. Both groups were subdivided into two groups; treated with or without non-selective or selective µ-, δ- or k-OR blockers (naloxone; NX, CTOP, naltridole; NT or nor-binaltorphimine dihydrochloride; nor-BNI, 0.5-1 mg/ml, s.c., 30 min before the bahavioral test). In the sweet food intake test, the rats were placed in the cage and allowed to consume sweet food (Froot loops® pellets), the number of ingested pellets during a period of 6 min was then recorded. Sweet food consumption was increased in chronic restraint stress-rats compared to control rats. Even though, there were no differences in the consumption of standard rat chow between groups. Adrenal gland mass associated with serum corticosterone level significantly increased in restraint stress-rats. These changes of adrenal gland mass and serum corticosterone confirmed the effective of stress model. Interestingly, the increase of sweet food consumption induced by restraint stress was inhibited by non-selective OR blocker (NX, 0.5 mg/ml) but not by any of selective OR blockers. To assess dopaminergic system, brain dopamine (DA) and its metabolites (DOPAC or HVA) level in amygdala, frontal cortex, hippocampus, and nucleus accumbens were measured by HPLC-EC. The dopamine levels were significntly increased in nucleus accumbens of chronic stressed-rat. Moreover, the sweet food consumption tended to increase the DA levels in nucleus accumbens in both stress and non-stress rats. On the other hand, dopaminergic activity (DOPAC/DA and HVA/DA ratios) of chronic stress-rats was lower than control rats. Additionally, the HVA levels in the hippocampus and the dopaminergic activity, shown by DOPAC/DA and HVA/DA ratios in the amygdala were significantly decreased in chronic stressed-rats. Further, nor-BNI tended to decrease dopamine levels in control rats, while other opioid antagonist did not affect. In contrast, naltridole could suppress DA level in nucleus accumbens in chronic stress rats while nor-BNI has no effect. These results suggested that chronic stress causes an increase in sweet food intake, and opioid system partially regulated stress induced-sweet food intake. Moreover, chronic stress may cause adaptation of δ- and k-OR in opioid systems as they differentially affected dopaminergic activity in mesolimbic system following OR antagonists administration. Nevertheless, this study has established the relationship between stress and opioid system in modulating mesolimbic dopamine system that affected sweet food intake.en_US
dc.description.abstractalternativeการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาบทบาทของตัวรับโอนปิออยด์ต่อพฤติกรรมการกินหวานในหนูที่ได้รับความเครียดเป็นเวลานานด้วยวิธีจำกัดการเคลื่อนไหว โดยวิธีการในการศึกษาใช้วิธีวัดพฤติกรรมการกินหวานและวัดระดับของสารสื่อประสาทโดปามีนและเมตาบอไลท์ในสมองส่วน mesolimbic system ในหนูที่ได้รับหรือไม่ได้รับสารที่ยับยั้งการทำงานของตัวรับโอปิออยด์ ในการศึกษาใช้หนูเพศผู้พันธุ์ Wistar นำมาแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มควบคุม และกลุ่มเครียด โดยหนูถูกทำให้เครียดโดยการจำกัดการเคลื่อนไหว วันละ 1 ชม. เป็นเวลา 14 วัน หลังจากนั้นทั้ง 2 กลุ่มถูกแบ่งเป็น 2 กลุ่มย่อย คือ กลุ่มที่ได้รับสารและไม่ได้รับสารยับยั้งการทำงานของตัวรับโอปิออยด์ (แบบไม่จำเพาะและจำเพาะต่อตัวโอปิออยด์ชนิด µ, δ และ k) ในขนาด 0.5-1 มิลลิกรัมต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม โดยการฉีดเข้าชั้นใต้ผิวหนัง ก่อนการทดสอบพฤติกรรมการกินหวาน 30 นาที ทดสอบพฤติกรรมการกินหวานโดยหนูใส่ในกรงที่มีอาหารหวาน (Froot loops®) จำนวน 10 เม็ด และนับจำนวนเม็ดที่กินใน 6 นาที ผลการทดลองพบว่าหนูกลุ่มเครียดมีการกินหวานมากกว่ากลุ่มควบคุม ในขณะที่ไม่พบความแตกต่างของการกินอาหารปกติ นอกจากนี้พบว่ามีการเพิ่มขึ้นของน้ำหนักของต่อมหมวกไตและระดับของฮอร์โมนคอติโคสเตอโรนในหนูกลุ่มเครียด ทั้งนี้การเพิ่มขึ้นของน้ำหนักของต่อมหมวกไตและระดับของฮอร์โมนคอติโคสเตอโรน เป็นการยืนยันว่าการถูกจำกัดการเคลื่อนไหวทำให้หนูเกิดความเครียด เป็นที่น่าสนใจว่าพฤติกรรมการกินหวานที่เกิดจากความเครียดดังกล่าวสามารถถูกยับยั้งได้โดย naloxone ซึ่งเป็นสารยับยั้งการทำงานของตัวรับโอปิออยด์ชนิดไม่จำเพาะ ในขณะที่สารยับยั้งการทำงานของตัวรับโอปิออยด์ชนิดจำเพาะ (ชนิด µ, δ และ k) ไม่สามารถยับยั้งผลดังกล่าวได้ การศึกษาการทำงานของ dopaminergic system ในสมองส่วนต่างๆ ที่สัมพันธ์กับพฤติกรรมการกินหวาน โดยการวัดระดับสารสื่อประสาท ด้วยวิธี HPLC-EC พบว่ามีการเปลี่ยนแปลงของโดปามีนและเมตาบอไลท์ในสมองส่วน nucleus accumbens โดยพบว่าระดับสารสื่อประสาทโดปามีนในหนูกลุ่มที่เครียดมีระดับสูงกว่ากลุ่มควบคุม ในขณะที่การทำงานของระบบประสาทโดปามีน (DOPAC/DA และ HVA/DA ratios) ในกลุ่มเครียดมีระดับลดลงโดยการกินหวานมีแนวโน้มที่จะเพิ่มระดับของสารสื่อประสาทโดปามีน นอกจากนี้พบว่าความเครียดมีผลลดระดับของโดปามีนเมตาบอไลท์ (HVA) ในสมองส่วน hippocampus และลดการทำงานของระบบประสาทโดปามีน (DOPAC/DA และ HVA/Da ratios) ในสมองส่วน amygdala อีกด้วย เมื่อให้สารที่มีความจำเพาะและไม่จำเพาะกับตัวรับโอปิออยด์พบว่า หนูกลุ่มควบคุมที่ได้รับสาร nor-BNI (จำเพาะต่อตัวรับชนิด k) นั้นระดับของสารสื่อประสาทปามีนมีแนวโน้มลดลง ในขณะที่สารชนิดอื่นไม่มีผล สำหรับหนูที่เครียดพบว่า เมื่อได้รับสาร naltridole (จำเพาะต่อตัวรับชนิด δ) พบว่าระดับสารสื่อประสาทโดปามีนลดลงอย่างเห็นได้ชัดแต่ nor-BNI ไม่มีผลเปลี่ยนแปลง จากผลการทดลองแสดงให้เห็นว่าความเครียดมีผลทำให้กินหวานเพิ่มขึ้น โดยการเปลี่ยนแปลงนี้มี opioid เข้ามามีบทบาทร่วมด้วย นอกจากนี้ความเครียดยังไม่มีผลทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงการทำงานของสมองส่วนที่ตอบสนองต่อความเครียดและส่วนที่ควบคุมพฤติกรรมความพึงพอใจ โดยอาจเป็นผลจากการเปลี่ยนแปลงการทำงานของตัวรับชนิด δ หรือ k ในระบบประสาทโอปิออยด์ โดยสังเกตจากการที่ระดับประสาทโดปามีนมีการตอบสนองแตกต่างกันเมื่อได้รับสารยับยั้งการทำงานและความเครียด อย่างไรก็ดีการทดลองนี้ชี้ให้เห็นถึงความสัมพันธ์ระหว่างความเครียดกับระบบประสาทโอปิออยด์ต่อการทำงานของระบบประสาทโดปามีนและส่งผลต่อพฤติกรรมการกินหวานen_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChulalongkorn Universityen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2006.2094-
dc.rightsChulalongkorn Universityen_US
dc.subjectRats -- Effect of stress onen_US
dc.subjectRats -- Behavioren_US
dc.subjectDopamineen_US
dc.subjectหนูขาว -- ผลกระทบจากความเครียดen_US
dc.subjectหนูขาว -- พฤติกรรมen_US
dc.subjectโดปามีนen_US
dc.titleRole of opioid receptors in sweet food intake in rats exposed to chronic restraint stressen_US
dc.title.alternativeบทบาทของตัวรับโอปิออยด์ต่อพฤติกรรมการกินหวานในหนูขาวที่ได้รับความเครียดเป็นเวลานานen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameMaster of Scienceen_US
dc.degree.levelMaster's Degreeen_US
dc.degree.disciplinePharmacology (Inter-Department)en_US
dc.degree.grantorChulalongkorn Universityen_US
dc.email.advisorsutthasinee.p@chula.ac.th-
dc.email.advisorsarinee.ka@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2006.2094-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
suwaporn_da_front.pdf1.56 MBAdobe PDFView/Open
suwaporn_da_ch1.pdf480.13 kBAdobe PDFView/Open
suwaporn_da_ch2.pdf1.93 MBAdobe PDFView/Open
suwaporn_da_ch3.pdf1.71 MBAdobe PDFView/Open
suwaporn_da_ch4.pdf3.4 MBAdobe PDFView/Open
suwaporn_da_ch5.pdf1.19 MBAdobe PDFView/Open
suwaporn_da_back.pdf1.59 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.