Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/51858
Title: The microbiota associating with three different transmucosal implant designs
Other Titles: การศึกษาแบคทีเรียโดยรอบรากเทียมที่มีการออกแบบส่วนผ่านเนื้อเยื่ออ่อนแตกต่างกันสามแบบ
Authors: Rinrapat Sripitiroj
Advisors: Anjalee Vacharaksa
Other author: Chulalongkorn University. Faculty of Dentistry
Advisor's Email: No information provided
Subjects: Teeth -- Roots
Dental implants
รากฟัน
ทันตกรรมรากเทียม
Issue Date: 2012
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: Objective To investigate the putative pathogenic bacteria, Porphyromonas gingivalis (Pg), Treponema denticola (Td), or Tanerella forsythia (Tf ), associating with implant-supported dental prostheses using differential transmucosal designs. Methodology Forty-five partially edentulous patients who received implant-supported fixed partial prostheses were randomly selected and categorized into three groups based on the transmucosal implant-abutment connections, including the platform-matching abutments (n = 15), platform-switching abutments (n = 15), and tissue-level dental implants (n = 15). To obtain subgingival bacterial samples, four paper points were inserted under light pressure in healthy peri-implant sulci, and DNA was extracted from the samples. Pg-, Td-, or Tf -specific DNA was detected by endpoint PCR. Results There was no statistically significant differences (P > 0.05) in the frequencies of the Pg, Tf, or Td associating with differential transmucosal designs under healthy conditions. However, the proportion of Tf associating with platform-matching abutments or platform-switching abutments was substantially higher than Pg or Td. The chi-square test showed significant differences (P < 0.05) in the frequencies of these bacteria in the groups restored with platform-matching abutments or platform-switching abutments, but not tissue-level dental implants. Conclusion periodontal pathogens are part of the normal resident microbiota and may be found at healthy peri-implant sites.
Other Abstract: วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาแบคทีเรียโดยรอบรากเทียม คือ พอร์ไฟโลโมนัส จินจิวาลิส (Porphyromonas gingivalis, Pg) ทรีโพนีมา เด็นติโคลา (Treponema denticola, Td) และ แทนเนอเรลลา ฟอร์ไซเทีย (Treponema forsythia, Tf )ที่มีการออกแบบส่วนผ่านเนื้อเยื่ออ่อนที่แตกต่างกัน วิธีการทดลอง แบ่งคนไข้ 45 คน ออกเป็น 3 กลุ่มตามชนิดของส่วนผ่านเนื้อเยื่ออ่อน คือ กลุ่มที่มีเส้นผ่านศูนย์กลางของส่วนผ่านเนื้อเยื่ออ่อนเท่ากับเส้นผ่านศูนย์กลางของรากเทียม จำนวน 15 คน กลุ่มที่มีเส้นผ่านศูนย์กลางของส่วนผ่านเนื้อเยื่ออ่อนสั้นกว่าเส้นผ่านศูนย์กลางของรากเทียม จำนวน 15 คน และกลุ่มที่มีส่วนผ่านเนื้อเยื่ออ่อนอยู่เหนือระดับกระดูก จำนวน 15 คน แล้วใช้กระดาษปลายแหลมซับน้ำจากร่องเหงือกบริเวณรากเทียม จากนั้นนำมาสกัดดีเอ็นเอ แล้วนำดีเอ็นเอที่สกัดได้มาทดสอบโดยวิธีปฏิกิริยาลูกโซ่พอลิเมอเรส โดยใช้ไพรเมอร์ที่มีความจำเพาะต่อแบคทีเรียที่ก่อโรคปริทันต์ คือ พอร์ไฟโลโมนัส จินจิวาลิส ทรีโพนีมา เด็นติโคลา และ แทนเนอเรลลา ฟอร์ไซทัส ในการทดสอบเพื่อหาชนิดของแบคทีเรียโดยรอบรากเทียมทั้ง 3 กลุ่ม ผลการทดลองที่ได้วิเคราะห์ด้วยสถิติไคสแควร์ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 ผลการทดลอง ไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติของสัดส่วนของแบคทีเรียทั้ง 3 ชนิด ระหว่างกลุ่มของส่วนผ่านเนื้อเยื่ออ่อนชนิดต่างๆกัน แต่กลุ่มที่มีเส้นผ่านศูนย์กลางของส่วนผ่านเนื้อเยื่ออ่อนเท่ากับเส้นผ่านศูนย์กลางของรากเทียมและกลุ่มที่มีเส้นผ่านศูนย์กลางของส่วนผ่านเนื้อเยื่ออ่อนสั้นกว่าเส้นผ่านศูนย์กลางของรากเทียมพบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติของแบคทีเรียทั้ง 3 ชนิด สรุป แบคทีเรียที่ก่อให้เกิดโรคปริทันต์เป็นส่วนหนึ่งของแบคทีเรียที่พบได้ตามปกติในช่องปาก และสามารถพบได้ในบริเวณโดยรอบรากเทียมที่อยู่ในภาวะปกติ
Description: Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2012
Degree Name: Master of Science
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Dental Public Health
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/51858
URI: http://doi.org/10.14457/CU.the.2012.272
metadata.dc.identifier.DOI: 10.14457/CU.the.2012.272
Type: Thesis
Appears in Collections:Dent - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
rinrapat_sr.pdf1.51 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.