Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/51859
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนันทนา จิรธรรมนุกูล-
dc.contributor.authorวีพอล ประมวลกิจจา-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2017-02-15T07:24:08Z-
dc.date.available2017-02-15T07:24:08Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/51859-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554en_US
dc.description.abstractวัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้ได้ศึกษาการเตรียมสารเคลือบผิวไฮบริดระหว่าง สารเคลือบผิวยูรีเทนอะคริเลตกับพอลิไซล็อกเซนที่ทำการบ่มด้วยรังสียูวีให้เคลือบ ลงบนฐานฟันปลอมอะคริลิกได้ สารเคลือบผิวไฮบริดได้จากการเติมสารประกอบ ไซล็อกเซนที่เตรียมจากกระบวนการโซลเจลแบบ Si1-1, Si1-2, Si2-1 และ Si2-2 ร้อยละ 1-40 โดยน้ำหนักลงในสารเคลือบผิวยูรีเทนอะคริเลตและใช้สารเริ่มปฏิกิริยาทางแสง Darocur 1173 ในปริมาณร้อยละ 4 โดยน้ำหนักของเรซิน และสารเคลือบผิวทำการตรวจสอบคุณลักษณะได้แก่ การเปลี่ยนแปลงของพันธะคู่คาร์บอนด้วยเครื่อง ATR-IR เสถียรภาพทาง ความร้อนด้วยเครื่อง TGA และระดับการเชื่อมขวางของโครงสร้างพอลิไซล็อกเซนด้วยเครื่อง 29Si-NMR และทดสอบสมบัติกายภาพของฟิล์มสารเคลือบบนแผ่นอะคริลิกใส โดยสูตร สารเคลือบไฮบริดที่เติมสารประกอบแบบ Si 1-2 ร้อยละ 40 โดยน้ำหนักเกิดการเปลี่ยนแปลงของพันธะคู่และระดับการเชื่อมขวางในโครงสร้างของพอลิไซล็อกเซนสูงและฟิล์มไฮบริดที่ได้มีความแข็งและการติดแน่นกับแผ่นอะคริลิกได้ดี แต่สูตรที่ได้เมื่อเคลือบลงบนฐานฟันปลอมอะคริลิกพบว่าฟิล์มเกิดรอยแตก จึงแก้ไขโดยเติมตัวเจือจางว่องไวที่มีความยืดหยุ่นและลดปริมาณการเติมสารประกอบไซล็อกเซนจากร้อยละ 40 เปลี่ยนเป็นร้อยละ 30 โดยน้ำหนัก จากนั้นสารเคลือบไฮบริดบนฐานฟันปลอมอะคริลิกทำการบ่มด้วยความเข้มของรังสีเท่ากับ 3,000 มิลลิจูจต่อตรางเซนติเมตร และฟิล์มไฮบริดที่ได้นำมาทดสอบสมบัติทางกายภาพและ เปรีบยเทียบกับฟิล์มจากสารเคลือบทางการค้า โดยฟิล์มไฮบริดมีความเงาในระดับที่ดีและมีสมบัติด้านความแข็ง การติดแน่น และความทนน้ำดีกว่าฟิล์มจากสารเคลือบทางการค้าen_US
dc.description.abstractalternativeThe objective of this research is to prepare UV-curable hybrid coating for denture base. The hybrid coatings of urethane-acrylate and polysiloxane were prepared by addition of 0-40 % by weight of each type of siloxane from sol-gel process (Si 1-1, Si1-2 Si2-1 and Si 2-2) into urethane-acrylate resin with 4 phr of Darocure 1173 as a photoinitiator. The conversion of C=C bond of hybrid coatings were analyzed by ATR-IR. The TGA and 29Si-NMR were used to characterize thermal stability and degree of crosslinking of structural polysiloxane in hybrid coatings. Beside, the physical properties of hybrid coatings were examined. The hybrid coatings with 40% by weight of Si 1-2 presented high conversion of C=C bond and degree of crosslinking in structural polysiloxane. Moreover, good hardness and adhesion of hybrid coating films on clear acrylate substrates were found. However, the obtained hybrid coating films showed some crack marks when it was coated on acrylic denture base. This problem was solved by addition of flexible reactive diluents and reduction of amount of siloxane from 40% to 30% by weight. The hybrid coatings were cured by UV radiation energy of 3,000 mJ/cm2 and physical properties testing were taken relative to commercial resin. The obtained hybrid coating films provided higher gloss and hardness, better adhesion and water resistance than coatings that used commercial resin.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2011.2126-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectฟันปลอม -- สารเคลือบen_US
dc.subjectการเคลือบผิวเพื่อป้องกันen_US
dc.subjectทันตกรรมประดิษฐ์en_US
dc.subjectDentures -- Coatingsen_US
dc.subjectProtective coatingsen_US
dc.subjectProsthodonticsen_US
dc.titleไซล็อกเซนเตรียมจากกระบวนการโซล-เจล/อะคริเลตสำหรับสารเคลือบผิวไฮบริดที่บ่มด้วยรังสียูวีen_US
dc.title.alternativeSiloxane prepared from sol-gel process/acrylate for UV-curable hybrid coatingsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิทยาศาสตร์พอลิเมอร์ประยุกต์และเทคโนโลยีสิ่งทอen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorjnantana@sc.chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2011.2126-
Appears in Collections:Sci - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
weepol_pr.pdf3.97 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.