Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/51969
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอุษณีย์ พึ่งปาน-
dc.contributor.authorเฟื่องลดา แผลงศร-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2017-02-17T14:33:40Z-
dc.date.available2017-02-17T14:33:40Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/51969-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554en_US
dc.description.abstractสำรวจพฤติกรรมที่พนักงานสตรีที่เลิกงานในเวลากลางคืนรับรู้ว่าเป็นการคุกคามทางเพศ ประสบการณ์ถูกคุกคามทางเพศ และการป้องกันตนเอง กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษา ได้แก่ พนักงานสตรีที่ทำงานและเลิกงานตั้งแต่เวลา 18.00-06.00 น. ของบริษัทสื่อสารโทรคมนาคม 3 แห่ง จำนวน 327 คน เก็บข้อมูลโดยการให้พนักงานสตรีตอบแบบสอบถามเรื่องความรู้ ประสบการณ์ถูกคุกคามทางเพศ และพฤติกรรมป้องกันตนเอง วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าสถิติเชิงพรรณนา การทดสอบไคว์สแควร์ และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า พนักงานสตรีที่อายุ 20-24 ปีมีพฤติกรรมป้องกันตนเองมากที่สุด พนักงานสตรีรับรู้รูปแบบพฤติกรรมคุกคามทางเพศทั้ง 3 ด้าน โดยรูปแบบการคุกคามทางเพศที่พนักงานสตรีถูกคุกคามมากที่สุด ได้แก่ การถูกลูบไล้เนื้อตัว จับมือถือแขน เบียดเสียดร่างกาย สำหรับการคุกคามโดยแสดงสัญลักษณ์ที่พนักงานสตรีถูกคุกคามมากที่สุด ได้แก่ มีผู้คุกคามมายืนดักรออยู่เป็นประจำ การถูกจ้องมอง ใช้สายตาแทะโลมเป็นเวลานาน และพนักงานสตรี 1 คนเคยถูกใช้กำลังบังคับเพื่อมีเพศสัมพันธ์ พนักงานสตรีมีพฤติกรรมป้องกันตนเอง โดยปฏิเสธการอยู่กับผู้ชายสองต่อสองในที่ลับตาen_US
dc.description.abstractalternativeTo examine behaviors perceived by night shift female workers as sexual threat, sexual harassment experience, and self-protection. The sample group includes 327 female workers in Telecommunication Company, who work during 18.00-06.00 hours. The information was collected by asking female workers to answer the questionnaire about knowledge, sexual harassment experience, and self-protection behavior. The information was analyzed by using descriptive statistic, chi-square test, and content analysis. About the result, it was found that female workers at the age of 20-24 years had highest self-protection behavior. Female workers perceived sexual threat behavior in 3 aspects. Sexual threat form mostly experienced by female workers includes touching, holding hand, and bumping. Symbolic threat mostly experienced by female workers includes being stalked, being stared for a long time, and one of female workers was forced to have sex. Female workers defend themselves by avoid being with man at blind spot.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2011.2143-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการคุกคามทางเพศen_US
dc.subjectการป้องกันตัวสำหรับสตรีen_US
dc.subjectการปรับตัว (จิตวิทยา)en_US
dc.subjectSexual harassmenten_US
dc.subjectSelf-defense for womenen_US
dc.subjectAdjustment ‪(Psychology)‬en_US
dc.titleการรับรู้ภัยคุกคามทางเพศและการป้องกันตนเองของพนักงานสตรีที่ทำงานกะกลางคืนen_US
dc.title.alternativePerceptions and self-prevention from sexual harassment of female night shift workersen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineเพศศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorUsaneya.P@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2011.2143-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fuenglada_pl.pdf1.13 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.