Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/51988
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุชาดา ศิริพันธุ์-
dc.contributor.authorจิตติมา เจียมอนุสรณ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2017-02-20T04:40:15Z-
dc.date.available2017-02-20T04:40:15Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/51988-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้ศึกษาธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงต่างๆ ที่เกิดขึ้นในระหว่างกระบวนการหมักปุ๋ยน้ำชีวภาพ รูปแบบการเจริญของจุลินทรีย์ โครงสร้างและองค์ประกอบของวัตถุดิบที่ใช้ในการหมัก ได้นำมาพิจารณาเป็นตัวแปรเพื่อใช้ในการสร้างแบบจำลองเชิงคณิตศาสตร์ที่สามารถทำนายปริมาณธาตุอาหาร N P K ในรูปที่เป็นประโยชน์ต่อพืช ซึ่งเกิดจากการทำงานของจุลินทรีย์ในน้ำปุ๋ยชีวภาพที่ระยะเวลาต่างๆ หลังการหมักได้ และทำการทดลองพิจารณาเปรียบเทียบปริมาณธาตุอาหารที่เกิดขึ้นจากการหมักซึ่งมีส่วนผสมคือ ใบจามจุรีแห้ง 1 กิโลกรัม, จุลินทรีย์พด. 2 20 กรัม, น้ำ 50 ลิตร และกากน้ำตาลที่ปริมาณแตกต่างกัน คือ 0.5, 1 และ 2 กิโลกรัม ที่ทำการหมักในระบบปิด โดยทำการเก็บข้อมูลทุกๆ 24 ชั่วโมง เป็นเวลา 21 วัน เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณกากน้ำตาลที่ส่งผลต่ออัตราการเปลี่ยนแปลงปริมาณธาตุอาหารต่างๆ ในระบบ สร้างสมการความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณกากน้ำตาลกับค่าพารามิเตอร์ต่างๆ ที่ใช้ในแบบจำลอง และนำแบบจำลองที่ได้ไปใช้ในการทำนายปริมาณธาตุอาหาร N P K ในน้ำปุ๋ยชีวภาพ โดยมีข้อจำกัดในการนำไปใช้คือสามารถใช้ประมาณค่าปริมาณ N P K ในช่วงระยะเวลาไม่เกิน 21 วันหลังจากการหมัก สำหรับการหมักที่มีส่วนผสมชนิดเดียวกับที่ใช้ในการทดลอง และมีปริมาณกากน้ำตาลอยู่ในช่วง 0.5 – 2 กิโลกรัมen_US
dc.description.abstractalternativeThis research studies the natural changed of fermentation process of organic fertilizer. The growth of microbial, a structure and compositions of materials were used as parameters to formulate a mathematical model for predicting the amount of nutrients N, P, K from the liquid organic fertilizer. In order to investigate the effect of a molasses on fermentation, the fertilizer was prepared by mixing materials which composed of Samanea Saman dry leaves, molasses, and water inoculated with super LDD. 2 (Land Development Department No.2) in batch fermentation. The experiment was performed to compare the amount of N, P, K by varying the amount of molasses to define the relationship between some parameters in the models and the amount of molasses. The amount of N, P, K was collected in usable form by plants. The models of this research can be used to predict the amount of N, P, K of the liquid organic fertilizer by varying the amount of molasses in the range of 0.5 to 2 kg of the same materials as used in the experiment, the period of the days after fermented are in the range of 0 to 21 days.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2011.2146-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectแบบจำลองทางคณิตศาสตร์en_US
dc.subjectปุ๋ยชีวภาพen_US
dc.subjectMathematical Modelen_US
dc.subjectBiofertilizersen_US
dc.subjectLogistic Functionen_US
dc.titleแบบจำลองเชิงคณิตศาสตร์เพื่อการทำนายปริมาณ N P K ในน้ำปุ๋ยชีวภาพระหว่างการหมักen_US
dc.title.alternativeMathematical Model for Predicting the Amount of Nutrient N P K Liquid Organic Fertilizeren_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิทยาการคณนาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorsuchada.s@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2011.2146-
Appears in Collections:Sci - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
chittima_ch.pdf2.72 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.