Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/52053
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorNatthanan Kunnamas-
dc.contributor.otherChulalongkorn University. Faculty of Political Science-
dc.date.accessioned2017-02-24T06:14:53Z-
dc.date.available2017-02-24T06:14:53Z-
dc.date.issued2015-
dc.identifier.citationJournal of European studies Chulalongkorn University 23,1 (2015) :12-35en_US
dc.identifier.issn0858-7795-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/52053-
dc.description.abstractRegionalism, regionalization and regional organizations in Asia are highly vibrant seconded to the European one, ranging from the Asia Pacific Economic Cooperation (APEC), the Association of Southeast Asian Nations (ASEAN), ASEAN Reginal Forum (ARF), ASEAN Plus Three (APT), Shanghai Cooperation Organization (SCO) and East Asia Summit (EAS). Moreover, the idea of ‘new regionalism’, highly influenced by social constructivist views, becomes workable mode in this region, which replaced the overriding Eurocentrist concepts, namely international relations based neo-functionalism and inter-governmentalism. Regionalisms in Asia could be ad hoc, bottom up and informal networks and even driven by the concerns of the weaker actors, particularly ASEAN which works its way towards the ‘regional common’ in the ASEAN Community. Besides, there is also the buildings of the regions or ‘regionalization’ process, not a geographic given but ideationally constructed to achieve synergetic development outcomes in East Asia. Examples of ‘region’en_US
dc.description.abstractalternativeในอดีตทฤษฏีและกรอบความคิดในการศึกษาการบูรณาการของสหภาพยุโรปมักถูกหยิบยกมาถกเถียงว่า สามารถใช้อธิบายปรากฎการณ์ภูมิภาคนิยมใหม่ (new regionalism) หรือภูมิภาคาภิวัฒน์ (regionalization) ในบริเวณนอกยุโรปได้หรือไม่ โดยเฉพาะทฤษฏีภารกิจนิยมใหม่ (neo-functionalism) ที่เน้นภารกิจเฉพาะและการถ่ายโอนอำนาจเหนือรัฐไปยังองค์กรกลาง หรือแนวคิดขั้วตรงข้ามอย่างกรอบความคิดว่าด้วยการบูรณาการเป็นเพียงแต่ความร่วมมือระหว่างรัฐบาลสมาชิก (inter-governmentalism) เพียงเท่านั้น งานชิ้นนี้จึงทดลองใช้กรอบความคิดด้วยยุโรปภิวัฒน์ (Europeanization) ซึ่งใช้ในการอธิบายสหภาพยุโรปในยุคหลัง เมื่อภารกิจของสหภาพยุโรปเกี่ยวพันกับภาคประชาสังคม ภายใต้คุณค่าแบบมนุษยนิยมมากขึ้น ที่ไปพ้นจากมหทฤษฏี (grand theories) เดิม อย่างสองกรอบความคิดข้างต้น มาอธิบายสิ่งที่ปรากฎใกล้ตัว หรือกระบวนการอาเซียนภิวัฒน์ว่ามีมากน้อยเพียงใดในแต่ละทิศทาง ในสมาคมประชาชาติเอเซียตะวันออกเฉียงใต้หรืออาเซียน ซึ่งมีปัจจัยทางประวัติศาสตร์ที่มา เหตุผลในการจัดตั้ง และโครงสร้างการบริหารที่แตกต่างจากสหภาพยุโรป แต่คุณค่า ปทัสถานที่สำคัญในอาเซียนหรือวิถีอาเซียน นำมาสู่การหาคำตอบในสามทิศทางที่ว่า กลไกและปทัสถานของอาเซียน ได้ถูกบงการ (top-down) ลงไปภายในระดับรัฐมากน้อยเพียงใด มีรัฐใดที่ผลักดัน (bottom-up) ผลประโยชน์แห่งชาติตนขึ้นไปเป็นนโยบายร่วมกันของอาเซียน และสุดท้ายความเป็นศูนย์กลางของอาเซียน (ASEAN centrality) ได้สร้างแรงบันดาลใจในโครงการอื่นในภูมิภาคหรือนอกภูมิภาค (side-way) อย่างไรบ้างen_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChulalongkorn Universityen_US
dc.rightsChulalongkorn Universityen_US
dc.rightsผู้เขียนบทความอนุญาตให้ ศูนย์สารสนเทศนานาชาติ เผยแพร่บทความนี้ผ่าน CUIR ตามจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ ลงวันที่ 14 ก.พ. 2560-
dc.subjectASEANen_US
dc.titleDoes ASEAN-ization exist? : assessing social constructivist process through Europeanizationen_US
dc.typeArticleen_US
dc.email.authorkn0908@hotmail.com-
Appears in Collections:Pol - Journal Articles

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Natthanan_KU_Art58.pdf1.34 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.