Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/52224
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวราภรณ์ ชัยวัฒน์en_US
dc.contributor.authorฐิติมา วัฒนเสรีเวชen_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพยาบาลศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2017-03-03T03:02:49Z-
dc.date.available2017-03-03T03:02:49Z-
dc.date.issued2559en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/52224-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2559en_US
dc.description.abstractการวิจัยเชิงทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการให้ข้อมูลแบบรูปธรรม-ปรนัยก่อนการเข้าเยี่ยมผู้ป่วยในหอผู้ป่วยวิกฤตเด็กครั้งแรกต่อความวิตกกังวลของมารดา กลุ่มตัวอย่าง คือ มารดาของผู้ป่วยเด็กที่เข้ารับการรักษาในหอผู้ป่วยกุมารเวชบำบัดวิกฤต โรงพยาบาลรามาธิบดี จำนวน 61 คน สุ่มเข้ากลุ่มทดลอง 30 คนและกลุ่มควบคุม 31 คน ก่อนการเข้าเยี่ยมผู้ป่วยในหอผู้ป่วยวิกฤตเด็กครั้งแรก กลุ่มทดลองได้รับการให้ข้อมูลแบบรูปธรรม-ปรนัย ประกอบด้วย ข้อมูลสิ่งที่มารดาต้องเผชิญเมื่อเข้าเยี่ยมผู้ป่วยครั้งแรกจากการรับรู้ทางประสาทสัมผัส, ข้อมูลที่เกิดตามลำดับเหตุการณ์ ข้อมูลที่อธิบายลักษณะสภาพแวดล้อมของหอผู้ป่วยวิกฤตเด็ก สภาพผู้ป่วยและเจ้าหน้าที่ และ ข้อมูลที่บอกถึงสาเหตุของการรับรู้ทางประสาทสัมผัสนั้น ความวิตกกังวลวัดด้วยแบบสอบถามความวิตกกังวลขณะเผชิญของ Spielberger และคณะ ฉบับแปลเป็นภาษาไทยโดย นิตยา คชภักดี และคณะ (2526) วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณา และสถิติทดสอบที ผลการวิจัยพบว่า ความวิตกกังวลของมารดากลุ่มที่ได้รับการให้ข้อมูลแบบรูปธรรม-ปรนัยก่อนการเข้าเยี่ยมผู้ป่วยในหอผู้ป่วยวิกฤตเด็กครั้งแรกลดลงมากกว่ากลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05en_US
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this experimental research was to study the effect of providing concrete-objective information before the first visit to intensive care unit on maternal anxiety. Sixty-one mothers of pediatric patients in intensive care unit, Ramathibodi hospital were randomly assigned to the experimental (n=30) and the control group (n=31). Prior to the first visit to the intensive care unit, the concrete-objective information was provided to mothers in the experimental group. The information included physical sensation and symptoms, temporal characteristics, environmental features, and cause of sensation, symptoms and experiences. Maternal anxiety was measured by the State Anxiety Inventory – Thai version (1983). Data were analyzed by frequency, percentage, means, standard deviation and t-test. The anxiety of mothers receiving concrete - objective information before the first visit to the pediatric intensive care unit was found significantly decreased more than that of mothers receiving routine nursing care, at the statistical level of .05.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2016.583-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการดูแลขั้นวิกฤตทางกุมารเวชศาสตร์-
dc.subjectบริการอนามัยแม่และเด็ก-
dc.subjectความวิตกกังวล-
dc.subjectPediatric intensive care-
dc.subjectMaternal health services-
dc.subjectAnxiety-
dc.titleผลของการให้ข้อมูลแบบรูปธรรม-ปรนัยก่อนการเข้าเยี่ยมผู้ป่วยในหอผู้ป่วยวิกฤตเด็กครั้งแรกต่อความวิตกกังวลของมารดาen_US
dc.title.alternativeThe effect of providing concrete-objective information before the first visit to pediatric patients in intensive care unit on maternal anxietyen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineพยาบาลศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorWaraporn.Ch@Chula.ac.th,waraporn.chaiyawat@gmail.com,waraporn.ch@chula.ac.then_US
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.THE.2016.583-
Appears in Collections:Nurse - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5677173636.pdf6.29 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.