Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/52306
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorภัทรพรรณ ประศาสน์สารกิจen_US
dc.contributor.advisorบุญญาวัณย์ อยู่สุขen_US
dc.contributor.authorกฤษฎา แซ่เฮงen_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2017-03-03T03:05:03Z-
dc.date.available2017-03-03T03:05:03Z-
dc.date.issued2559en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/52306-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2559en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้ศึกษาการดูดซับสารประกอบกำมะถันไดเบนโซไทโอฟีน (DBT) และ 4,6-ไดเมทิลไดเบนโซไทโอฟีน (4,6-DMDBT) ปริมาณกำมะถัน 150 ppm ในนอร์มัลออกเทนเป็นน้ำมันจำลอง การดูดซับทดลองในระบบดูดซับแบบเบดนิ่งด้วยอัตราการไหล 1 mL/min ที่อุณหภูมิแวดล้อม การดูดซับกำมะถันด้วยตัวดูดซับไม่ดัดแปรพื้นผิว ได้แก่ อะลูมินากัมมันต์ ถ่านกัมมันต์ และซีโอไลต์โซเดียมวาย ซึ่งค่าความจุเบรคทรูและความจุอิ่มตัวสามารถคำนวณจากกราฟเส้นโค้งเบรคทรู พบว่าความจุการดูดซับสารประกอบกำมะถันทั้งสองชนิดเรียงลำดับดังนี้ ซีโอไลต์โซเดียมวาย > ถ่านกัมมันต์ > อะลูมินากัมมันต์ ดังนั้นตัวดูดซับถ่านกัมมันต์และซีโอไลต์โซเดียมวายถูกเลือกไปศึกษาการดัดแปรพื้นผิวเพื่อเพิ่มสมรรถนะการดูดซับ ตัวดูดซับถ่านกัมมันต์นำมาเพิ่มโลหะ Cu และ Ni ปริมาณ 5, 10, 15, 20 และ 30 เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนักด้วยวิธีอิมเพรกเนชั่น พบว่าตัวดูดซับ 10 %wt Cu/AC และ 10 %wt Ni/AC สามารถดูดซับสารประกอบกำถันทั้งสองชนิดได้ดี เนื่องจากการเพิ่มโลหะลงไปทำให้มีตำแหน่งการดูดซับมากขึ้น นอกจากนี้ ตัวดูดซับซีโอไลต์โซเดียมวายนำมาดัดแปรเป็น Cu-Y zeolite และ Ni-Y zeolite ด้วยวิธีแลกเปลี่ยนไอออน สำหรับการดูดซับ DBT และ 4,6-DMDBT พบว่าตัวดูดซับ Cu-Y zeolite และ Ni-Y zeolite มีค่าความจุการดูดซับสูงกว่าตัวดูดซับ Na-Y zeolite เนื่องจากไอออนของ Cu และ Ni สามารถเกิดอัตรากิริยาแบบพันธะไพได้ โดยความจุการดูดซับสารประกอบกำมะถันทั้งสองชนิดเรียงลำดับดังนี้ Cu-Y zeolite ~ Ni-Y zeolite > 10 %wt Cu/AC ~ 10 %wt Ni/AC สำหรับการดูดซับ 4,6-DMDBT ด้วยตัวดูดซับ Cu-Y zeolite พบว่าค่าความจุการดูดซับมีค่าสูงขึ้นเมื่ออัตราการไหลลดลงและอุณหภูมิการดูดซับสูงขึ้นen_US
dc.description.abstractalternativeThis research was to study the adsorptive desulfurization of DBT and 4,6-DMDBT with sulfur 150 ppm in n-octane as model oil. The adsorption experiments were performed in a fixed-bed flowing system with flow rate of 1 mL/min at ambient temperature. For adsorptive desulfurization over three unmodified adsorbents including activated alumina, activated carbon and Na-Y zeolite, the breakthrough and saturation capacities were calculated by the breakthrough curve and the adsorption capacities followed the order: Na-Y zeolite > activated carbon > activated alumina. Thus, activated carbon and Na-Y zeolite were selected to study the surface modification for enhanced adsorption performance. Activated carbon was impregnated with Cu and Ni of 5, 10, 15, 20 and 30 %wt. The results indicated that 10 %wt Cu/AC and 10 %wt Ni/AC adsorbents showed a good adsorption of both sulfur compounds because impregnation of metal could improve the adsorptive sites. In addition, Na-Y zeolite was also modified to Cu-Y zeolite and Ni-Y zeolite with ion-exchange method. For adsorption of DBT and 4,6-DMDBT, Cu-Y zeolite and Ni-Y zeolite had higher adsorption capacities than NaY-zeolite because Cu and Ni ions could form a π–complexation bond with sulfur compounds. The adsorption capacities of both sulfur compounds followed the order: Cu-Y zeolite ~ Ni-Y zeolite > 10 %wt Cu/AC ~ 10 %wt Ni/AC adsorbents. For adsorption 4,6-DMDBT on Cu-Y zeolite, the adsorption capacities increased with decreasing flowrate and increasing temperature.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2016.13-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectน้ำมันดีเซล-
dc.subjectดีซัลเฟอไรเซชัน-
dc.subjectกำมะถัน-
dc.subjectDiesel fuels-
dc.subjectDesulfurization-
dc.subjectSulfur-
dc.titleการขจัดกำมะถันจากน้ำมันดีเซลด้วยตัวดูดซับแบบเชิงซ้อนพันธะไพen_US
dc.title.alternativeDesulfurization of diesel oil by π–complexation adsorbentsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineเคมีเทคนิคen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorPattarapan.P@Chula.ac.th,ppattara@chula.ac.then_US
dc.email.advisorboonyawy@mtec.or.then_US
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.THE.2016.13-
Appears in Collections:Sci - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5771911423.pdf5.99 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.