Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/52438
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจิราพร เกศพิชญวัฒนา-
dc.contributor.authorนารีรัตน์ เชื้อสูงเนิน-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพยาบาลศาสตร์-
dc.date.accessioned2017-03-03T08:53:32Z-
dc.date.available2017-03-03T08:53:32Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/52438-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับของการรับรู้ภาวะสุขภาพ การปฏิบัติกิจกรรม การสนับสนุนจากครอบครัว ความผาสุกทางใจ และศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ภาวะสุขภาพ การปฏิบัติกิจกรรม การสนับสนุนจากครอบครัวกับความผาสุกทางใจในผู้สูงอายุที่เข้าร่วมชมรมผู้สูงอายุ กรุงเทพมหานคร จำนวน 250 คน ที่คนเป็นสมาชิกชมรมผู้สูงอายุที่ดำเนินงานภายใต้ สหพันธ์ชมรมผู้สูงอายุกรุงเทพมหานครเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามการรับรู้ภาวะสุขภาพ แบบสอบถามการปฏิบัติกิจกรรมแบบสอบถามการสนับสนุนจากครอบครัว และแบบสอบถามความผาสุกทางใจ ผ่านการตรวจความตรงตามเนื้อหาโดย ผู้ทรงคุณวุฒิ และจากการหาค่าความตรงตามเนื้อหาเท่ากับ 1.0, .95, .82 และ 1.0 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ สถิติค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ผลการวิจัย สรุปได้ดังนี้ 1. ความผาสุกทางใจของผู้สูงอายุที่เข้าร่วมชมรมผู้สูงอายุกรุงเทพมหานคร อยู่ในระดับสูง 2. การรับรู้ภาวะสุขภาพของผู้สูงอายุที่เข้าร่วมชมรมผู้สูงอายุกรุงเทพมหานคร อยู่ในระดับดี และมีความสัมพันธ์ทางบวกกับความผาสุกทางใจ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.5 (r = .129) 3. การปฏิบัติกิจกรรมของผู้สูงอายุที่เข้าร่วมชมรมผู้สูงอายุอยู่ในระดับมาก และมีความสัมพันธ์ทางบวก กับความผาสุกทางใจ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.5 (r = .441) 4. การสนับสนุนจากครอบครัวของผู้สูงอายุที่เข้าร่วมชมรมผู้สูงอายุกรุงเทพมหานคร อยู่ในระดับสูงและมีความสัมพันธ์ทางบวกกับความผาสุกทางใจ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.5 (r = .439)จากผลการศึกษาวิจัย ทำให้เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ภาวะสุขภาพ การปฏิบัติกิจกรรม การสนับสนุนจากครอบครัว กับความผาสุกทางใจ ของผู้สูงอายุที่เข้าร่วมชมรมผู้สูงอายุกรุงเทพมหานคร ในบริบทของสังคมเมืองหลวง ซึ่งมีลักษณะความเป็นอยู่ และวิถีชีวิต ที่แตกต่างจากสังคมชนบท สามารถนำความรู้เกี่ยวกับความผาสุกทางใจ และปัจจัยที่มีผลต่อความผาสุกทางใจ ใช้เป็นแนวทางในการดูแลเพื่อส่งเสริมสุขภาพโดยเฉพาะด้านจิตสังคมแก่ผู้สูงอายุที่อาศัยในชุมชนen_US
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were to 1) define level of perceived health status, activity, family support, psychological well-being 2) study relationships between perceived health status, physical activity, family support and psychological well being of the elders in elderly clubs in Bangkok Metropolis. The subjects were 250 elders recruited from 10 elderly clubs, selected by a multi-stage sampling. The instruments used for data collection were the Perceived Health Status Questionnaire, Activity Questionnaire, Family Support Questionnaire, and Psychological Well-Being Questionnaire. The instruments were tested for content validity by a panel of experts. The content validity of instruments were 1.0, .95, .82 and 1.0 respectively. Data were analyzed by using SPSS for Window, including frequency, mean, standard deviation and Peason's Product Moment Correlation Coefficient. Findings were as follows: 1. Psychological well-being of the elders in elderly clubs, Bangkok Metropolis were at a high level. 2. Perceived Health Status of the elders in elderly clubs, Bangkok Metropolis were at a high level and positively correlated with psychological well-being at the .05 level. (r =.129) 3. Activity level of the elders in elderly clubs, Bangkok Metropolis were at a high level and positively correlated with psychological well-being at the .05 level. (r = .441) 4. Family Support of the elders in elderly clubs, Bangkok Metropolis were at a high level and positively correlated with psychological well-being at the .05 level. (r = .439) Findings from this study contribute to an understanding of the relationships between perceived health status, physical activity, family support and psychological well-being of the elders in elderly clubs in Bangkok Metropolis. This study provides useful knowledge regarding psychological well-being of the elders and related factors which will be helpful in health promotion especially psychological health of the elderly in community.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2007.854-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectผู้สูงอายุen_US
dc.subjectผู้สูงอายุ -- ความสัมพันธ์ในครอบครัวen_US
dc.subjectผู้สูงอายุ -- สุขภาพและอนามัยen_US
dc.subjectOlder peopleen_US
dc.subjectOlder people -- Domestic relationsen_US
dc.subjectOlder people -- Health and hygieneen_US
dc.subjectWell-beingen_US
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ภาวะสุขภาพ การปฏิบัติกิจกรรม การสนับสนุนจากครอบครัวกับความผาสุกทางใจของผู้สูงอายุในชมรมผู้สูงอายุกรุงเทพมหานครen_US
dc.title.alternativeRelationships between perceived health status, activity, family support and psychological well-being of elders in elderly clubs, Bangkok Metropolisen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineพยาบาลศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorJiraporn.Ke@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2007.854-
Appears in Collections:Nurse - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
nareerat_ch_front.pdf958.78 kBAdobe PDFView/Open
nareerat_ch_ch1.pdf1.54 MBAdobe PDFView/Open
nareerat_ch_ch2.pdf3.81 MBAdobe PDFView/Open
nareerat_ch_ch3.pdf1.36 MBAdobe PDFView/Open
nareerat_ch_ch4.pdf542.7 kBAdobe PDFView/Open
nareerat_ch_ch5.pdf1.09 MBAdobe PDFView/Open
nareerat_ch_back.pdf3.61 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.