Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/524
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสันติ คุณประเสริฐ-
dc.contributor.authorฐิติศันส์ พากย์สุขี, 2516--
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2006-06-26T06:30:25Z-
dc.date.available2006-06-26T06:30:25Z-
dc.date.issued2547-
dc.identifier.isbn9745321133-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/524-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มาหาวิทยาลัย, 2547en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาผลการสอนทัศนศิลป์โดยบูรณาการ การจัดการศึกษานอกสถานที่ ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น กลุ่มตัวอย่างประชากรที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนวัดชัยมงคล สังกัดกรุงเทพมหานคร ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2547 ที่เรียนวิชาทัศนศิลป์ จำนวน 48 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยซึ่งผู้วิจัยสร้างขึ้น ได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้ทัศนศิลป์โดยบูรณาการการจัดการศึกษานอกสถานที่ ประกอบด้วยขั้นเตรียมความพร้อมผู้เรียน ขั้นเดินทางไปศึกษานอกสถานที่ ขั้นสรุปผลและประยุกต์ใช้ 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 3) แบบสังเกตพฤติกรรมนักเรียน 4) แบบประเมินผลงานนักเรียน และ 5) แบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียน ทำการวิเคราะห์ข้อมูล โดยการหาค่ามัชฌิมเลขคณิต (Mean) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ค่าร้อยละ ค่าความถี่ และการทดสอบค่าที (-test) ผลการวิจัย ผลของการสอนทัศนศิลป์โดยบูรณาการการจัดการศึกษานอกสถานที่ ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ผลทางการเรียนของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ได้พบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 นอกจากนี้ ผลการวิจัยพบว่า การศึกษาดูงานศิลปะนอกสถานที่ช่วยขยายขอบเขตความรู้และความเข้าใจของนักเรียนที่มีต่อผลงานทัศนศิลป์ให้กว้างขวางขึ้น การที่ได้สัมผัสกับผลงานศิลปะต้นฉบับมีส่วนปลุกเร้าให้นักเรียนเกิดความสนใจใคร่รู้และทำการสำรวจวิเคราะห์ผลงาน ด้วยการร่างภาพ จดบันทึก และสนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นต่อกันในขณะชมผลงานศิลปะ ในด้านการนำความรู้ที่ได้ศึกษามาประยุกต์ใช้ พบว่า วิธีการสร้างงานของนักเรียนส่วนใหญ่ มีทั้งการการเลียนแบบและดัดแปลง ผลงานของนักเรียนมีโครงสร้างทางองค์ประกอบศิลป์คล้ายคลึงกับผลงานศิลปะต้นฉบับ แต่มีการปรับเปลี่ยนเนื้อหาเรื่องราว ทัศนธาตุ และ เทคนิคบางประการในการสร้างงานen
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to study the effects of the visual arts teaching by integrating the field trip management upon learning achievements of lower secondary students. The sample group were 48 students, in the lower secondary level of Watchaimongkol School under the Bangkok Metropolitan Administration, who took a visual arts course in the second semester of academic year 2004. The research instruments which constructed by the researcher were 1) a lesson plan of visual arts teaching by integrating the field trip management which included: the learner preparation process, the field trip process, the study of original works of art process, the conclusion and application of knowledge 2) a set of pre-test and post-test upon learning achievements 3) a student behavioral observation form 4) a production evaluation form, and 5) a set of student questionnaire. The obtained data were analyzed by arithmetic means, standard deviation, percentage and t-test. The findings form the visual arts teaching by integrating the field trip management has revealed that: learning achievements of the after learning are than the before learning at .05 level of statistical significance. Further more, it was found that the field trip could encourage students to extend their knowledge and understanding about visual arts. The viewing of the original works of art could urge students' curiosity such as exploring and contemplating, making sketches, taking notes, sharing opinions and discussing. In the knowledge application process, findings revealed that most students produced their art work by employing both imitation and modification. They adapted the composition structures, subjects, elements and techniques from the original works of art.en
dc.format.extent4724858 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothen
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2004.382-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectทัศนศิลป์--การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)en
dc.subjectการศึกษานอกสถานที่en
dc.subjectผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนen
dc.titleผลการสอนทัศนศิลป์โดยบูรณาการการจัดการศึกษานอกสถานที่ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นen
dc.title.alternativeEffects of the visual arts teaching by integrating the field trip management upon learning acheivements' of lower secondary stutentsen
dc.typeThesisen
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen
dc.degree.levelปริญญาโทen
dc.degree.disciplineศิลปศึกษาen
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorSanti.K@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2004.382-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thitisan.pdf3.8 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.