Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/52566
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorณัฏฐลักษณ์ ธาระวานิช-
dc.contributor.authorชาญสิทธิ์ รัตนาวงศ์ไชยา-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2017-03-10T04:48:56Z-
dc.date.available2017-03-10T04:48:56Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/52566-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556en_US
dc.description.abstractการวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับความพร้อมในการเรียนรู้ด้วยการชี้นำตนเองของนักศึกษานอกระบบโรงเรียนที่ใช้วิธีเรียนแบบทางไกล 2) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านความพร้อมในการเรียนรู้ด้วยการชี้นำตนเองกับความสำเร็จทางวิชาการของนักศึกษานอกระบบโรงเรียนที่ใช้วิธีเรียนแบบทางไกล 3) นำเสนอแนวทางการจัดการเรียนรู้ด้วยการชี้นำตนเองที่ส่งผลต่อความสำเร็จทางวิชาการของนักศึกษานอกระบบโรงเรียนที่ใช้วิธีเรียนแบบทางไกล โดยมีกลุ่มตัวอย่าง คือ นักศึกษานอกระบบโรงเรียนที่ใช้วิธีเรียนแบบทางไกล จำนวน 291 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามปัจจัยด้านความพร้อมในการเรียนรู้ด้วยการชี้นำตนเองกับความสำเร็จทางวิชาการของนักศึกษานอกระบบโรงเรียนที่ใช้วิธีเรียนแบบทางไกล การสนทนากลุ่มโดยผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 8 คน และการสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 3 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าร้อยละ (%) ค่าเฉลี่ย (X) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบเชิงชั้น (Stepwise multiple regression analysis) ผลการวิจัยพบว่า 1) ระดับความพร้อมในการเรียนรู้ด้วยการชี้นำตนเองของนักศึกษานอกระบบโรงเรียนที่ใช้วิธีเรียนแบบทางไกลในภาพรวม อยู่ในระดับมาก (X= 3.60, S.D. = 0.55) 2) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ระหว่างความพร้อมในการเรียนรู้ด้วยการชี้นำตนเองกับความสำเร็จทางวิชาการของนักศึกษานอกระบบโรงเรียนที่ใช้วิธีเรียนแบบทางไกล ได้แก่ ปัจจัยด้านการเปิดโอกาสต่อการเรียนรู้ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3) แนวทางการจัดการเรียนรู้ด้วยการชี้นำตนเองที่ส่งผลต่อความสำเร็จทางวิชาการของนักศึกษานอกระบบโรงเรียนที่ใช้วิธีเรียนแบบทางไกล ประกอบด้วย 5 ด้าน ดังนี้ 1) ด้านนโยบาย 2) ด้านหลักการ 3) ด้านวิธีการเรียนรู้ด้วยการชี้นำตนเอง 4) ด้านบริหารจัดการ 5) ด้านประเมินผลen_US
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were: 1) to study the self-directed learning level and academic achievement of non-formal education learners using distance learning, 2) to study the relationships of self-directed learning factors and academic achievement of non-formal education learners using distance learning, and 3) to propose guidelines for self-directed learning factors and academic achievements of non-formal education learners using distance learning. The research sample consisted of 291 students in non-formal education using distance learning. The research instruments comprised a questionnaire form, a focus group of 8 experts and an interview with 3 experts. The statistics used for data analysis were percentage (%), arithmetic mean (X), standard deviation (S.D.) and stepwise multiple regression analysis. The research results were as follows : 1) The self-directed learning level of non-formal education learners using distance learning was as a high level (X= 3.60, S.D. = 0.55). 2) The relationship between of self-directed learning factors and academic achievement of non-formal education learners using distance learning open to learning opportunities factor, was statistically significant at an overall level of .05. 3) Guidelines on the management of self-directed learning that influence the academic achievement of non-formal education learners using distance learning consist of: 1) policy; 2) principle; 3) self-directed learning method; 4) management; and 5) evaluation.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2013.1740-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการเรียนรู้ด้วยการนำตนเองen_US
dc.subjectการศึกษานอกระบบโรงเรียนen_US
dc.subjectการศึกษาทางไกลen_US
dc.subjectผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนen_US
dc.subjectSelf-directed learningen_US
dc.subjectNon-formal educationen_US
dc.subjectDistance educationen_US
dc.subjectAcademic achievementen_US
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านความพร้อมในการเรียนรู้ด้วยการชี้นำตนเองกับความสำเร็จทางวิชาการของนักศึกษานอกระบบโรงเรียนที่ใช้วิธีเรียนแบบทางไกลen_US
dc.title.alternativeRelationships of self-directed learning readiness factors and academic achievement of non-formal education learners using distance learningen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการศึกษานอกระบบโรงเรียนen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2013.1740-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
chansit_ra.pdf2.33 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.