Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/52593
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรัชนีกร หงส์พนัส-
dc.contributor.authorปรางฤทัย ใจสุทธิ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2017-03-13T04:23:32Z-
dc.date.available2017-03-13T04:23:32Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/52593-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการประเมินหลักฐานทางประวัติศาสตร์ และความสามารถในการคิดสังเคราะห์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ และวิธีการจัดการเรียนรู้แบบปกติตัวอย่างประชากรเป็นนักเรียนโรงเรียนราชนันทาจารย์ สามเสนวิทยาลัย 2 จำนวน 80 คน แบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มทดลองจำนวน 40 คน และกลุ่มควบคุมจำนวน 40 คน เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง คือ แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ และแผนการเรียนรู้แบบปกติ จำนวน 10 แผน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือแบบทดสอบความสามารถในการประเมินหลักฐานทางประวัติศาสตร์ และแบบทดสอบความสามารถในการคิดสังเคราะห์ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการหาค่าเฉลี่ยร้อยละ ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าทดสอบค่า (t-test) ผลการวิจัยพบว่า 1.นักเรียนกลุ่มที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์มีความสามารถ ในการประเมินหลักฐานทางประวัติศาสตร์หลังเรียนสูงกว่านักเรียนกลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 2.นักเรียนกลุ่มที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์มีความสามารถ ในการคิดสังเคราะห์หลังเรียนสูงกว่านักเรียนกลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 3.นักเรียนกลุ่มที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์มีความสามารถ ในการประเมินหลักฐานทางประวัติศาสตร์และการคิดสังเคราะห์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05en_US
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to compare the historical evidence evaluation and synthesis thinking abilities of tenth grade students who learned though the historical method and the conventionalmethod. The samples were two groups of Ratchanantajarn Samsenwittalai II School: an experimental group composed of 40 students and a control group composed of 40 students. The instruments for gathering data were two sets of the daily lesson plans: daily lesson plans based on thehistorical method and daily lesson plans based on the conventional method. The data were collected by the historical evidence evaluation test and thesynthesis thinking abilities test. The data were analyzed by frequencies, percentage, standard deviation (S.D.) and t-test. The results of this research were as follows: 1. The post-test mean scores in the historical evidence evaluation test of the experimental group were significantly higher than the pre-test mean scores of the control groupat .05 level. 2. The post-test mean scores in the synthesis thinking abilities test of the experimental group were significantly higher the thanpre-test mean scores of the control group at .05 level. 3. The post-test mean scores in the historical evidence evaluationtest andthe synthesis thinking abilitiestest of the experimental group were significantly higher than the pre-test mean scores at .05 level.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2013.1745-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectประวัติศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)en_US
dc.subjectประวัติศาสตร์ -- กิจกรรมการเรียนการสอนen_US
dc.subjectสังคมศึกษา -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)en_US
dc.subjectHistory -- Study and teaching (Secondary)en_US
dc.subjectHistory -- Activity programs in educationen_US
dc.subjectSocial sciences -- Study and teaching (Secondary)en_US
dc.titleผลของการจัดการเรียนรู้โดยใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ที่มีต่อ ความสามารถในการประเมินหลักฐานทางประวัติศาสตร์และความสามารถในการคิดสังเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4en_US
dc.title.alternativeEffects of learning management using historical method on historical evidence evaluation and synthesis thinking abilities of tenth grade studentsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการสอนสังคมศึกษาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2013.1745-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
prangreuthai_ja.pdf1.96 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.